Page 163 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 17 ฉบับที่ 3
P. 163

J Thai Trad Alt Med                                    Vol. 17  No. 3  Sep-Dec 2019  513




            สื่อสัญญาณประสาท เช่น เอนดอร์ฟินและฮอร์โมน   พบว่า การฝึกโยคะที่ได้รับการฝึกฝนต่อเนื่องที่บ้าน
            ต่าง ๆ แล้วส่งสัญญาณประสาทกลับลงมาตาม       เพิ่มคุณภาพในการลดระดับความดัน โดยมีผลลดค่า

                                   [28]
            ไขสันหลังและเส้นประสาท ส่งผลต่อการช่วย      DBP อย่างมีนัยสำาคัญทางสถิติ ค่า p < 0.05 เช่นกัน
                                                  [22]
            ควบคุมระดับความดันโลหิตสอดคล้องกับ Liu (2015)        3.  วิธีปฏิบัติด้วยการแพทย์ทางเลือกต่อระดับ
            พบว่ากลุ่มผู้ป่วยที่เป็นกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มผู้ป่วยความ  ความดันโลหิตสูงวิเคราะห์ตามผลการวิจัย พบว่า การ

            ดันโลหิตสูงที่ได้รับการฝังเข็มแบบมาตรฐานเป็นระยะ  แพทย์ทางเลือกแบบเสริม และการแพทย์ทางเลือก
            เวลา 8 สัปดาห์และติดตามผลเป็นเวลา 4 สัปดาห์หลัง  อย่างเดียว สามารถลดระดับความดันโลหิตได้อย่างมี
            การรักษาเมื่อเทียบกับกลุ่มควบคุมที่ไม่ได้รับการ  นัยสำาคัญทางสถิติ แต่มี 1 งานวิจัยของ Jaipakdee, J.

                                                             [20]
            ฝังเข็มเป็นเวลา 12 สัปดาห์มีค่า SBP และ DBP ลด  (2011) ซึ่งศึกษาในประเทศไทยพบว่าการฝึกหายใจ
            ลงอย่างมีนัยสำาคัญทางสถิติ ค่า p < 0.05 เป็นไปใน  ลึกร่วมกับผ่อนคลายกล้ามเนื้อสามารถลดระดับความ
                                 [21]
            ทิศทางเดียวกับ Li (2013)  พบว่า กลุ่มผู้ป่วยที่ได้  ดันโลหิตได้ แต่ลดลงอย่างไม่มีนัยสำาคัญทางสถิติโดย
            รับการฝังเข็ม ไม่ว่าจะเป็น affected meridian acu-  ผลการวิจัยวิเคราะห์ได้ว่า เกิดจากสถานที่ที่ปฏิบัติ
            puncture, non-affected meridian acupuncture   การติดตาม เกิดความคลาดเคลื่อนในการประเมิน

            หรือ invasive sham acupuncture สามารถลด     เนื่องจากการวิจัยไม่สามารถสังเกตการปฏิบัติของ
            ระดับความดันได้อย่างมีนัยสำาคัญทางสถิติและ (3)   กลุ่มตัวอย่างที่บ้านแต่ตรวจสอบโดยการสอบถามและ
            โยคะใช้เทคนิคจิตประสานกาย (mind body inter-  ให้กลุ่มตัวอย่างปฏิบัติให้ดูซึ่งอาจจะเกิดความคลาด

            vention) ซึ่งเป็นการบำาบัดโดยใช้กายและจิตหรือใช้  เคลื่อนในการติดตามและประเมินความถูกต้องของ
            สมาธิในการบำาบัดด้านกายเกิดการยืดหยุ่นของกล้าม  การฝึกหายใจแบบลึกร่วมกับการผ่อนคลายกล้ามเนื้อ

            เนื้อ ระบบหมุนเวียนเลือดดีขึ้น ด้านจิตส่งผลต่อการ     การพิจารณานำาวิธีการแพทย์ทางเลือกมา
            ลดความรู้สึกเครียด จึงเกิดเป็นกลไกกระตุ้น vagus   ประยุกต์ใช้ต้องขึ้นอยู่บนหลักการของความถูกต้อง
            nerve ลดการทำางานของระบบประสาทซิมพาเทติก    และเหมาะสมขององค์ความรู้ที่ได้รับการยืนยัน

                                                            [6]
                                          [29]
            และเพิ่มการทำางานของพาราซิมพาเทติก สอดคล้อง  แล้ว เนื่องจากปัจจุบันการแพทย์ทางเลือกได้รับ
                                       [23]
            กับ Saptharishi LG, et al. (2009)  พบว่า การฝึก  ความนิยมในระบบสุขภาพมากขึ้น และระดับความ
            โยคะ โดยเน้นท่าทาง การควบคุมลมหายใจ ช่วยลด  ดันโลหิตของกลุ่มประชากรที่นำามาใช้การวิจัยต้อง
            ค่า SBP และ DBP อย่างมีนัยสำาคัญทางสถิติ ค่า p <   เป็นระดับที่สามารถควบคุมได้และไม่ได้อยู่ในระยะ
            0.05 อีกทั้งช่วยลดภาวะเครียดและเพิ่มคุณภาพชีวิต  ที่เป็นอันตราย [10]
            ด้วย เป็นไปในทิศทางเดียวกับ Hagins M, et al.

            (2014)  พบว่าการฝึกโปรแกรมโยคะที่ประกอบด้วย                 ข้อสรุป
                 [19]
            3 องค์ประกอบ ได้แก่ ท่าทางการควบคุมลมหายใจ       การทบทวนพบว่า วิธีปฏิบัติด้วยการแพทย์ทาง

            และการทำาสมาธิเป็นเวลา 12 สัปดาห์ เมื่อเทียบกับ  เลือก ได้แก่ การฝึกหายใจสมาธิบำาบัด โยคะ ออก
            กลุ่มควบคุม มีผลลดค่า DBP อย่างมีนัยสำาคัญทาง  กำาลังกายโดยวิธีเดินเร็ว รับประทานอาหารลดเกลือ
            สถิติ ค่า p < 0.05 และ Wolff M, et al. (2013)    การฝึกหายใจร่วมกับการผ่อนคลายกล้ามเนื้อและ
                                                  [18]
   158   159   160   161   162   163   164   165   166   167   168