Page 162 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 17 ฉบับที่ 3
P. 162

512 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก       ปีที่ 17  ฉบับที่ 3  กันยายน-ธันวาคม 2562




           เป็นรูปแบบการแพทย์ทางเลือกแบบเสริมวิธีปฏิบัติคือ   โลหิตสูง การเลือกใช้วิธีปฏิบัติ โดยขึ้นอยู่กับความเชื่อ
           กลุ่มการฝึกหายใจสมาธิบำาบัดและโยคะ ส่วนรูปแบบ  ขนบธรรมเนียมประเพณีหรืออิทธิพลที่ได้รับ

           การแพทย์ทางเลือกอย่างเดียว วิธีปฏิบัติ คือ การฝัง     2.  วิธีปฏิบัติด้วยการแพทย์ทางเลือกต่อระดับ
           เข็ม และวิธีปฏิบัติ 3 วิธี ได้แก่ เดินเร็ว ลดเกลือ โยคะ  ความดันโลหิตสูงวิเคราะห์ตามกลไกของร่างกาย พบ
           โดยให้ปฏิบัติอย่างใดอย่างหนึ่งจำานวน 1 เรื่องส่วนอีก  ว่า (1) กลุ่มการฝึกหายใจสมาธิบำาบัดใช้เทคนิคปรับ

           จำานวน 1 เรื่องมีผลลดความดันแต่ไม่มีนัยสำาคัญทาง  สมดุลของร่างกายและจิตใจ ผลคือ ร่างกายของเรา
           สถิติได้แก่การฝึกหายใจลึกร่วมกับผ่อนคลายกล้าม  จะรู้สึกสบายและผ่อนคลายและจิตเป็นสมาธิ ส่ง
           เนื้อ                                       ผลให้ความตึงตัวของกล้ามเนื้อลดลง (relaxation

                1.  วิธีปฏิบัติด้วยการแพทย์ทางเลือกต่อระดับ  responses) สมองจะหลั่งฮอร์โมนเอนดอร์ฟิน (en-
           ความดันโลหิตสูงวิเคราะห์ตามพื้นที่ภูมิประเทศพบ  dorphins) เกิดคลื่นสมองแบบแอลฟ่าเพิ่มขึ้น คือ
           ว่ามีการนำาไปใช้ ดังนี้งานวิจัยที่ศึกษาในแถบทวีป  คลื่นสมองช้าและเป็นระเบียบขึ้นซึ่งจะช่วยลดอัตรา

           เอเชีย แบ่งได้เป็น 2 วิธีปฏิบัติ ได้แก่ (1) กลุ่มการ  การเต้นของหัวใจและช่วยลดภาวะความดันโลหิตสูง
                                                                                        [16]
           ฝึกหายใจสมาธิบำาบัดจำานวน 4 เรื่อง ทำาการศึกษาใน  ได้ [9,27]  สอดคล้องกับ Naewbood S, (2015)  พบว่า
           ประเทศไทยทั้งหมด เนื่องจากประเทศไทยประชากร  ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ปฏิบัติเทคนิคสมาธิเพื่อ
           ส่วนใหญ่เป็นชาวพุทธ รูปแบบของการนำามาใช้ส่วน  การเยียวยา SKT2 มีค่า SBP และ DBP ลดลงอย่าง
           ใหญ่เป็นรูปแบบของความเชื่อตามพระพุทธศาสนา [24]   มีนัยสำาคัญทางสถิติ ค่า p < 0.001 เป็นไปในทิศทาง

           คือ การฝึกควบคุมหายใจและสมาธิบำาบัด มีการใช้  เดียวกับ Ouicharoenpong M, et al. (2011)  พบ
                                                                                          [15]
           เทคนิคการผ่อนคลายของจิตใจเพื่อรักษาโรคและ   ว่าการฝึกหายใจช้าเข้า-ออก 1 ครั้งให้ยาวนานกว่า

           สร้างเสริมป้องกันผู้ที่มีภาวะความดันโลหิตสูง จาก  6 วินาที และต่อจากนั้นให้หายใจเข้า-ออกน้อยกว่า
           ผลของงานวิจัยทางการแพทย์ก็ยังพบว่า การฝึกสมาธิ  10 ครั้งใน 1 นาที ฝึกวันละ 15 นาทีทุกวันต่อเนื่อง 8
           บำาบัดช่วยรักษาโรคความดันโลหิตสูงได้ดี ส่งผลต่อ  สัปดาห์ ส่งผลต่อค่า SBP และ DBP ลดลงอย่างมีนัย

           การรักษาในทางที่ดีขึ้นสามารถลดขนาดยาหรือหยุด  สำาคัญทางสถิติ ค่า p < 0.001 ในขณะที่ Khaicharoen
                                                                   [17]
                         [25]
           ยาลดความดันได้ (2) การฝังเข็ม จำานวน 2 เรื่อง   S, et al. (2017)  พบว่าการฝึกผ่อนลมหายใจออก
           ทำาการศึกษาในประเทศจีนและเกาหลี การฝังเข็มจัด  ช้า โดยการเป่ากังหันลม ช่วยลดค่า SBP ได้อย่างมี
           เป็นศาสตร์หนึ่งที่องค์การอนามัยโลกให้การยอมรับ  นัยสำาคัญทางสถิติ ค่า p < 0.01 เช่นกัน (2) การฝัง
           ในเรื่องของการรักษาที่เด่นชัดเป็นพิเศษในการบรรเทา  เข็ม ใช้เทคนิคการปรับสมดุลและกลไกการทำางาน
           และรักษาภาวะความดันโลหิตสูง  และงานวิจัยที่  ของเส้นเลือดอวัยวะในร่างกายและระบบภูมิคุ้มกัน
                                     [26]
           ศึกษานอกแถบทวีปเอเชียมี 1 วิธีปฏิบัติ ได้แก่ โยคะ  ให้สมดุลเป็นปกติโดยกระตุ้นให้เกิดสัญญาณประสาท
           จำานวน 2 เรื่อง ทำาการศึกษาในประเทศสหรัฐอเมริกา  ส่งเข้าไปยังไขสันหลังแล้วเกิดเป็นวงจรสะท้อนกลับมา

           และสวีเดนโดยได้รับอิทธิพลมาจากฝั่งประเทศอินเดีย  ทำาให้กล้ามเนื้อที่หดเกร็งเกิดการคลายตัว และหลอด
           มีการนำาเข้าไปเผยแพร่ อิทธิพลดังกล่าวส่งผลให้มี  เลือดที่หดตัวเกิดการขยายตัว สัญญาณประสาทบาง
           การนำาโยคะเข้ามาช่วยในการบำาบัดรักษาโรคความดัน  ส่วนจะถูกส่งขึ้นไปยังสมองกระตุ้นให้มีการหลั่งสาร
   157   158   159   160   161   162   163   164   165   166   167