Page 161 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 17 ฉบับที่ 3
P. 161
J Thai Trad Alt Med Vol. 17 No. 3 Sep-Dec 2019 511
ส่วนมากเป็นรูปแบบการศึกษาเชิงทดลองจำานวน 7 การแพทย์ทางเลือกแบบเสริมวิธีปฏิบัติ คือ กลุ่มการ
เรื่อง และแบบกึ่งทดลองจำานวน 2 เรื่อง หากพิจารณา ฝึกหายใจสมาธิบำาบัด [15-17] และโยคะ [18-19] ส่วนรูปแบบ
ตามประเภทวิธีปฏิบัติพบว่า เป็นการแพทย์ทางเลือก การแพทย์ทางเลือกแบบอย่างเดียวหรือแบบใช้ตาม
เป็นแบบเสริม (complementary medicine, CM) ลำาพัง วิธีปฏิบัติ คือ การฝังเข็ม [21-22] และวิธีปฏิบัติ 3
จำานวน 5 เรื่อง ได้แก่ การใช้ยาร่วมกับกลุ่มการฝึก วิธี ได้แก่ เดินเร็ว ลดเกลือ โยคะโดยให้ปฏิบัติอย่าง
[23]
หายใจสมาธิบำาบัดจำานวน 3 เรื่อง [15-17] และการใช้ยา ใดอย่างหนึ่ง จำานวน 1 เรื่อง ส่วนอีกจำานวน 1 เรื่อง
ร่วมกับโยคะจำานวน 2 เรื่อง [18-19] มีผลลดความดันโลหิตแต่ไม่มีนัยสำาคัญทางสถิติ ได้
ส่วนการแพทย์ทางเลือกแบบอย่างเดียวหรือ ใช้วิธีการปฏิบัติด้วยการการฝึกหายใจลึกร่วมกับผ่อน
แบบใช้ตามลำาพัง (alternative medicine, AM) มี คลายกล้ามเนื้อ [20]
จำานวน 4 เรื่อง ได้แก่ การฝึกหายใจลึกร่วมกับผ่อน
[20]
คลายกล้ามเนื้อจำานวน 1 เรื่อง การฝังเข็มจำานวน อภิปร�ยผล
2 เรื่อง [21-22] และศึกษาผลจากวิธีปฏิบัติ 3 วิธีเปรียบ จากการทบทวนและคัดเลือกงานวิจัยนี้ ได้
เทียบกัน จำานวน 1 เรื่องได้แก่ เดินเร็ว ลดเกลือ โยคะ ประยุกต์ใช้แนวทางบางขั้นตอนในเรื่องการทบทวน
โดยให้ปฏิบัติอย่างใดอย่างหนึ่ง [23] วรรณกรรมอย่างเป็นระบบของสถาบันโจแอนนา
ระดับความดันโลหิตที่ศึกษา พบว่าส่วนมากทุก บริกส์ โดยค้นหาจากแหล่งข้อมูล ThaiJo และ
งานวิจัยใช้ค่าความดันขณะหัวใจบีบตัว (SBP) อยู่ใน Google Scholar ตั้งแต่ปีค.ศ.2009-2017 ที่ผ่านการ
ช่วง 120-179 mmHg และค่าความดันขณะหัวใจ คัดเลือกตามหลักการ PICOS ข้างต้น พบว่ามีทั้งหมด
คลายตัว (DBP) อยู่ในช่วง 80-109 mmHg 14 เรื่อง เมื่อพิจารณาพบว่าเป็นงานวิจัยที่ไม่ได้ตีพิมพ์
ช่วงระยะเวลาในการปฏิบัติด้วยการแพทย์ทาง เป็นภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 2 เรื่องและไม่สามารถ
เลือกต่อการลดความดัน พบว่ามีระยะเวลาตั้งแต่ 8-13 เข้าถึงรายงานวิจัยแบบเต็มได้ 3 เรื่อง ดังนั้นงานที่ผ่าน
สัปดาห์ โดยงานวิจัยที่ศึกษาระยะเวลา 8 สัปดาห์มี การคัดกรองตามเกณฑ์ที่กำาหนดจึงมี 9 เรื่อง
จำานวน5 เรื่อง [15-17,20,23] งานวิจัยที่ศึกษาระยะเวลา 12 ภาพรวมของงานวิจัยส่วนใหญ่เป็นลักษณะการ
สัปดาห์มีจำานวน 3 เรื่อง [18-19,22] และงานวิจัยที่ศึกษา เปรียบเทียบระหว่างกลุ่มควบคุมและกลุ่มทดลอง
[21]
ระยะเวลา 13 สัปดาห์มีจำานวน 1 เรื่อง แต่ละงาน ที่ได้รับวิธีปฏิบัติด้วยการแพทย์ทางเลือกแบบเสริม
วิจัยมีการติดตามระดับความดันโลหิตที่ลดลงหลัง (complementary medicine, CM) และการแพทย์
จากได้รับวิธีปฏิบัติด้วยการแพทย์ทางเลือกที่แตก ทางเลือกแบบอย่างเดียวหรือใช้แบบลำาพัง (alterna-
ต่างกันออกไปตั้งแต่ 1 สัปดาห์ 4 สัปดาห์ 6 สัปดาห์ 8 tive medicine, AM)
สัปดาห์ และ 12 สัปดาห์ ผลการทบทวนเกี่ยวกับวิธีปฏิบัติด้วยการแพทย์
ระดับความดันที่ลดลงทั้งค่าความดันขณะหัวใจ ทางเลือกต่อระดับความดันโลหิตที่ลดลงทั้งค่าความ
บีบตัว (SBP) และค่าความดันขณะหัวใจคลายตัว ดันขณะหัวใจบีบตัว (SBP) และค่าความดันขณะหัวใจ
(DBP) พบว่ามีจำานวน 8 เรื่องที่มีผลต่อการลดความ คลายตัว (DBP)พบว่ามีจำานวน 8 เรื่องที่มีผลต่อการ
ดันอย่างมีนัยสำาคัญทางสถิติ ส่วนใหญ่เป็นรูปแบบ ลดความดันโลหิตอย่างมีนัยสำาคัญทางสถิติ ส่วนใหญ่