Page 118 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 17 ฉบับที่ 2
P. 118
256 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ปีที่ 17 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2562
ในปัจจุบัน จำานวนผู้ป่วยเฉลี่ยในรอบ 6 เดือนที่ผ่านมา สังเกตการรักษา การต้มยา การติดตามปู่ไปหาตัวยา
อยู่ในระดับ 10–30 คนต่อเดือน ทั้งในรูปแบบของการ สมุนไพรในป่าเป็นประจำา ขณะนั้นหมอเสทือนสามารถ
เดินมารับการรักษาด้วยตนเองและการนำาสมุนไพรไป จดจำาชื่อและสรรพคุณสมุนไพรได้นับร้อยชนิด เรียน
ใช้ในการรักษาที่บ้าน รู้การใช้ยาสมุนไพรในการรักษาโรคต่าง ๆ ให้กับคน
ในหมู่บ้านและคนต่างถิ่นที่มารับการรักษาอีกด้วย
2. ประวัติก�รศึกษ�สมุนไพร ครั้นปู่เสียชีวิตลงหมอเสทือนจึงสืบทอดองค์ความรู้
หมอเสทือน หอมเกตุ เรียนรู้ตัวยาสมุนไพรมา ในการรักษาต่าง ๆ มาจวบจนถึงทุกวันนี้ นอกจากนี้
ตั้งแต่อายุ 10 ปี สืบทอดความรู้มาจากปู่ ชื่อนายปิ่น หมอเสทือนยังเข้ารับการศึกษาในโครงการฝึกอบรม
หอมเกตุ ที่เป็นหมอพื้นบ้านมีประสบการณ์รักษามา ด้านการแพทย์แผนไทย หมั่นศึกษาจากตำาราจน
ยาวนานเช่นกัน หมอเสทือนเรียนรู้สมุนไพรโดยการ กระทั่งได้จัดทำาคัมภีร์ชื่อว่า กิตหนา โดยเนื้อหาใน
คัมภีร์เรียบเรียงขึ้นจากการวิเคราะห์ สังเคราะห์ ด้วย
ตนเองร่วมกับโรงพยาบาลทุ่งสงซึ่งได้รับการสนับสนุน
จากกองทุนคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์
แผนไทย และยังรักษาผู้ป่วยอย่างต่อเนื่องจนถึง
ปัจจุบัน ซึ่งหมอเสทือนมีความถนัดอย่างมากในการ
รักษาอาการตกขาวในสตรี จนได้รับการยอมรับจาก
คนในชุมชนและคนต่างถิ่น
3. คุณสมบัติของก�รเป็นหมอพื้นบ้�น
จากการสัมภาษณ์หมอเสทือน หอมเกตุ ได้
รับหนังสือรับรองหมอพื้นบ้านตามระเบียบกรม
ภาพที่ 1 หมอเสทือน หอมเกตุ การแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ได้
ภาพที่ 2 คัมภีร์กิตหนา