Page 111 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 17 ฉบับที่ 2
P. 111

J Thai Trad Alt Med                                   Vol. 17  No. 2  May-Aug 2019  249




              ล้างตะกรันในร่างกายออก  แล้วอาการจะพัฒนาเข้า  ก�รป้องกันอ�ก�รเครียด
                                  [10]
              เขตสันนิบาตดังที่กล่าวไว้ในพระคัมภีร์สิทธิสาร     ในพระคัมภีร์โรคนิทานและธาตุวิภังค์มีการ
              สงเคราะห์                                   กล่าวถึงการสุมยาเพื่อป้องกันการปวดศีรษะ การ

                                                          ป้องกันของผู้เชี่ยวชาญด้านเวชกรรมไทยจะใช้ตำารับ
              ก�รรักษ�
                                                          ยาคุมธาตุ การฝึกสมาธิ การปล่อยวาง การบำารุง
                   ในพระคัมภีร์ต่าง ๆ มีตำารับยารักษาอาการ  ร่างกายให้แข็งแรง การปรับพฤติกรรม การให้ยาหอม
              เครียดมากมาย ผู้เชี่ยวชาญด้านเวชกรรมไทยใช้วิธี  ชโลมจิตใจ และการขจัดสารพิษในร่างกายออก
              การรักษาทั้งการใช้นำ้ามันหอมระเหย การนวด [12-13, 21-22]       จากการวิจัยพบว่า ควรปรับพฤติกรรมดูแล

              การทำาสมาธิ [10-13]  การใช้ตำารับยา [7-15]  และการขจัด   ร่างกายโดยหลีกเลี่ยงพฤติกรรมเสี่ยงต่าง ๆ และ
              กรีสัง (ของเสีย) ออก [10]                   เหตุเกิดโรค 6 สถาน  ปรับธาตุให้สมดุลตามความ
                                                                          [17]
                   วิธีการรักษาต่าง ๆ มีกลไกการทำางานที่ต่างกัน   เหมาะสมของแต่ละบุคคล ขจัดของเสียออกเป็น
              ดังนั้นการผนวกใช้นำ้ามันหอมระเหย การนวด และการ  ระยะ ๆ แล้วปรับทัศนคติให้คาดหวังน้อยลง ยอมรับ
              ทำาสมาธิเข้ากับการรักษาด้วย น่าจะทำาให้ผู้ป่วยผ่อน  ในสถานการณ์ให้มากขึ้น

              คลายความเครียดได้มากขึ้น ซึ่งการผนวกรักษาอาจ
              ทำาได้ดังนี้                                                ข้อสรุป
                     รุ ขจัดกรีสังต่าง ๆ ในร่างกายออก โดยเริ่ม     การวิจัยครั้งนี้สามารถสรุปปัจจัยและกลไกที่

              ด้วยกรีสังในหลอดเลือดเพื่อให้เลือดไหลเวียนดีและ  ทำาให้เกิดความเจ็บป่วย อาการและพัฒนาการ การ
              ลำาเลียงของเสียได้สะดวก ขจัดของเสียในลำาไส้ออก   รักษา และการป้องกันได้ดังภาพที่ 1 และมีรายละเอียด
              แล้วจึงรุกรีสังจากอวัยวะต่าง ๆ เมื่อของเสียออกมา  ดังนี้

              สู่กระแสเลือดจะมีอาการมึนศีรษะ จึงควรนำาเลือด     ปัจจัยที่ทำาให้เกิดการเจ็บป่วยคือ ธาตุ อุตุ อายุ
              ไปเลี้ยงสมองให้มากขึ้นด้วยยาหอมกำากับลมกอง  กาลเวลา ประเทศ และพฤติกรรมก่อโรค โดยผู้

              ละเอียด [10-12,14-15]  อาการมึนศีรษะอาจน้อยลงและ  เชี่ยวชาญด้านเวชกรรมไทยให้ความสำาคัญกับปัจจัย
              จิตใจจะสงบขึ้น รุความคิดฟุ้งซ่านออกด้วยการทำา  ธาตุ อายุ และพฤติกรรมก่อโรคมากที่สุด ซึ่งมีกลไก
              สมาธิ                                       คือความเครียดจะส่งผลกระทบทำาให้ธาตุไฟกำาเริบ

                     ล้อม ระบบคูถอพัทธปิตตะไม่ให้ทำางาน   แล้วไปกระทบให้ธาตุลมกำาเริบต่อ ซึ่งบุคคลที่มีธาตุ
              หนักเกินไปด้วยตำารับยาคูถอพัทธปิตตะที่มีฮอร์โมน  เจ้าเรือนและอายุที่อยู่ในช่วงวาตะและมีพฤติกรรมก่อ
                                               ้
              ธรรมชาติอยู่ [10,14]  ล้อมความคิดฟุ้งซ่านด้วยนำามันหอม  โรคจะเสี่ยงมากที่สุด จากนั้นธาตุไฟและธาตุลมจะไป
              ระเหย                                       กระทบต่อธาตุนำ้าและธาตุดิน การวิปริตไปของธาตุทั้ง
                   [12]
                     รักษา ฟื้นฟูระบบพัทธปิตตะ คูถอพัทธ   สี่ทำาให้มีอาการต่าง ๆ เกิดขึ้น

              ปิตตะ อุระอพัทธปิตตะ และศออพัทธปิตตะ และฟื้นฟู     อาการของความเครียดจึงเป็นไปตามธาตุลมที่
              สมอง  นวดให้โลหิตไหลเวียนดีขึ้น             กำาเริบ และอาการตามธาตุไฟ ธาตุนำ้า และธาตุดิน ตาม
                  [14]
                     บำารุง บำารุงเลือดให้สมบูรณ์ [12,14-15]    ความเชื่อมโยงที่ธาตุทั้งสี่มีความสัมพันธ์กัน ดังอาการ
   106   107   108   109   110   111   112   113   114   115   116