Page 109 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 17 ฉบับที่ 2
P. 109
J Thai Trad Alt Med Vol. 17 No. 2 May-Aug 2019 247
หลับ ความดันโลหิตสูง เลือดเป็นกรด เป็นกษัย ธาตุและพฤติกรรมมากที่สุด ความเครียดเกิดได้ทั้ง
[11]
[15]
ต่าง ๆ จนถึงมีโอกาสที่จะเป็นมะเร็ง อาจมีอาการ จากอารมณ์และจากการตรากตรำาร่างกาย โดยทาง
[10]
[15]
ทางปิตตะหรือวาตะก่อนแล้วจึงมีอาการทางเสมหะ ร่างกายก็ส่งผลกระทบต่ออารมณ์ ดังเช่นลักษณะ
อภิวาราภัยสันนิบาต และอารมณ์ก็ส่งผลกระทบต่อ
ก�รรักษ� ร่างกาย ดังเช่นลักษณะอภิฆาตสันนิบาตและลักษณะ
รักษาด้วยตำารับยา ฝึกจิตใจให้ปล่อยวางไม่ อภิสังคสันนิบาต ในพระคัมภีร์ธาตุวิวรณ์ยังได้
[16]
[7-15]
คิดมาก ฝึกการหายใจหรือนั่งสมาธิ [10-13] การขจัด กล่าวถึงสาเหตุการเกิดโรค ที่เกี่ยวกับอารมณ์คือโทสะ
[9]
ของเสียออก รักษาด้วยอาหารที่ถูกกับธาตุ ใช้วารี มากซึ่งเป็นสภาวะของจิตใจ และยังกล่าวถึงพฤติกรรม
[11]
[10]
หรือสุคนธบำาบัด หรือใช้การนวด [12,13] ที่ผู้มีความเครียดมักมีคือ นอนน้อย กลางคืนนอนมิ
[12]
หลับว่าเป็นสาเหตุของโรคด้วย ในพระคัมภีร์วรโยคสาร
[17]
ก�รป้องกัน ได้กล่าวว่าความวิตกกังวลส่งผลกระทบให้ธาตุลม
ด้วยการฝึกจิตใจให้ปล่อยวาง [7,14] ทำาการปรับ กำาเริบ โดยมิได้กล่าวถึงว่ากระทบธาตุไฟก่อนจึง
[18]
และบำารุงธาตุ [7,9,15] ป้องกันด้วยตำารับยาบำารุงโลหิต ทำาให้ธาตุลมกำาเริบ แต่จากการค้นคว้ามีนำ้าหนักให้เชื่อ
และบำารุงร่างกาย [8, 14] ทำาสมาธิ [11-12] ปรับพฤติกรรมที่ ว่ากลไกการกระทบน่าจะเริ่มจากธาตุไฟก่อน โดย
เสี่ยงต่าง ๆ [10-13,15] ขจัดสารพิษออกและปรับอาหารให้ ข้อมูลจากผู้เชี่ยวชาญด้านเวชกรรมไทย อารมณ์จะไป
เหมาะสม [15] กระทบต่อธาตุไฟ [10,12-14] ธาตุไฟที่กำาเริบจะไปกระทบ
สรุปผลจากผู้เชี่ยวชาญด้านเวชกรรมไทย พบ ให้อุทริยังและกรีสังไม่เหมาะสมกับธาตุดิน
[9]
ว่า จิตใจที่เครียด มลพิษและพฤติกรรมกระทบธาตุ ความเครียดยังเกิดจากการปนเปื้อนของธาตุทั้งสี่ใน
ทั้ง 4 อาการและการดำาเนินโรค มีอาการตึง คอ บ่า ร่างกายจากอาหารและอากาศ [7,15] เมื่อคู่ธาตุไฟและ
ไหล่ มีอาการที่ท้องแล้วไต่ขึ้นไปถึงอาการทางศีรษะ ธาตุลมถูกกระทบจากจิตใจ คู่ธาตุนำ้าและดินจะถูก
รักษาด้วยการปล่อยวาง อาหาร การหายใจ สมาธิ การ กระทบตามมาในทิศตรงกันข้ามคือคู่ธาตุไฟและลม
นวด วารีหรือสุคนธบำาบัด การขจัดของเสียออกและ กำาเริบ คู่ธาตุนำ้าและดินจะหย่อน และกลับกัน [9,10,14]
ตำารับยาป้องกันด้วยการขจัดสารพิษ ปรับอาหาร ปรับ ธาตุไฟที่กำาเริบกระทบให้ธาตุลมกำาเริบตาม หาก
พฤติกรรม ปรับจิตใจ ตำารับยาและการฝึกสมาธิ มีความเครียดต่อเนื่อง ลมร้อนจะมีมากขึ้น กระทบต่อ
ให้ธาตุนำ้าหย่อน ตามกลไกของการกระทบระหว่างคู่
อภิปร�ยผล ธาตุ ธาตุนำ้าที่หย่อนจะกระทำาให้ธาตุไฟยิ่งกำาเริบ
กระทบให้ธาตุลมยิ่งกำาเริบขึ้นอีก ธาตุนำ้าก็จะยิ่งหย่อน
กลไกก�รเกิดอ�ก�รเครียด จากนั้นธาตุไฟจะเริ่มหย่อน คล้ายกับไฟในธรรมชาติ
ในการแพทย์แผนไทยความเจ็บป่วยมีต้นเหตุ ซึ่งจะลุกโชนเมื่อมีเชื้อเพลิงมาก แล้วจะมอดลงในที่สุด
มาจาก ธาตุ ฤดู อายุ และกาลเวลา นอกจากนี้ เมื่อเชื้อเพลิงหมดไป ซึ่งเชื้อเพลิงที่หมดไปเกิดจากธาตุ
[7]
ประเทศและพฤติกรรมก็อาจเป็นต้นเหตุได้เช่นกัน ไฟไปกระทบต่ออุทริยังที่เป็นอาหารให้ธาตุดิน ทำาให้
[9]
โดยผู้เชี่ยวชาญด้านเวชกรรมไทยให้นำ้าหนักกับปัจจัย ธาตุดินไม่สามารถสร้างธาตุไฟได้อย่างพอเพียง