Page 131 - วารสารปีที่17ฉบับที่1
P. 131

J Thai Trad Alt Med                                    Vol. 17  No. 1  Jan-Apr 2019  121




                                                                      [16]
            สาธารณรัฐประชาชนจีน และภูมิภาคมาเลเซีย [1,5-7]  และ C. glabreta  สารมัลติฟิโดนมีพิษต่อเซลล์
                 ลักษณะเครื่องยา ฝิ่นต้นมีรูปร่างและขนาดไม่  มะเร็งของมนุษย์หลายชนิด เช่น เซลล์มะเร็งเม็ดเลือด

            แน่นอน ลักษณะโค้งเล็กน้อย หรือโค้งมากคล้ายรางน�้า   ขาวบางชนิด, เซลล์มะเร็งปอด (human lung carci-
            สีน�้าตาลแกมเทาถึงสีน�้าตาล ผิวด้านนอกขรุขระ เปลือก  noma) เซลล์มะเร็งเมลาโนมาชนิดร้ายแรง (human
            ชั้นนอกแตกเป็นแผ่น มีรอยแผลใบ ด้านในเกือบเรียบ   malignant melanoma) [8]

            มีลายเป็นเส้นตามยาว สีน�้าตาลถึงน�้าตาลแดง รอยตัด
            เป็นชั้นบางหลายชั้น รสขมอมฝาด               หมายเหตุ
                 องค์ประกอบทางเคมี ล�าต้นประกอบด้วยสาร       1.  มีรายงานว่าทุกส่วนของฝิ่นต้น โดยเฉพาะ

                                                                                 [17]
            กลุ่มไดเทอร์พีน (diterpenes) เช่น สารมัลติฟิโดน   เมล็ดมีฤทธิ์เป็นยาถ่ายอย่างแรง  เปลือกต้นใช้แก้
                                           [8–9]
            (multifidone), มัลติไดโอน (multidione) , มัลติโฟ-  โรคผิวหนังเรื้อรังโดยผิวหนังนูนและคันตลอดเวลา
            โลน (multifolone), (4อี)-จาโทรกรอสซิโดน แอซีเทต   ซึ่งเกิดจากโรคประสาท (neurodermatitis) คันตาม

            [(4E)-jatrogrossidone acetate]  นอกจากนี้ ยังพบ  ผิวหนัง (itchy skin) และโรคผิวหนังอักเสบออกผื่น
                                     [10]
            สารกลุ่มแอลคาลอยด์ (alkaloids) แทนนิน (tannins)   (skin eczema)  ยางจากต้นใช้ทาแผลสด แผลปาก
                                                                    [18]
                                                  [11]
            เฟลโวนอยด์ (flavonoids) แซโพนิน (saponins)    เปื่อย ช่วยสมานแผล [15,19]  แต่อาจท�าให้เกิดอาการแพ้
            และกรดไฮโดรไซยานิก (hydrocyanic acid) [12]  บวมแดง และแสบร้อนได้ในบางราย
                                                             2.  เมล็ดฝิ่นต้นมีพิษ เมื่อกินเข้าไปจะท�าให้เกิด
            ข้อบ่งใช้ -                                 อาการปวดหัว คลื่นไส้ อาเจียน ท้องเสีย กล้ามเนื้อชัก

                 ต�าราสรรพคุณยาไทยว่า ฝิ่นต้นมีรสขมร้อนฝาด  กระตุก หายใจเร็ว การเต้นของหัวใจผิดปรกติ ความดัน

            เมา แก้ลมและโลหิต แก้ปวดเส้นเอ็น คุมธาตุ แก้ท้อง  ต�่า หากกินเพียง 3 เมล็ดจะเกิดอันตรายได้ การรักษา
            ร่วง แก้บิดปวดเบ่ง ลงแดง แก้ปวดเมื่อยตามร่างกาย   อาการพิษ อาจท�าได้โดยให้ดื่มนมหรือผงถ่าน เพื่อลด
            เป็นต้น [13-14]                             การดูดซึม [20]

                 ข้อมูลจากการศึกษาวิจัยพรีคลินิกพบว่า สาร
            สกัดเมทานอลของฝิ่นต้นมีฤทธิ์ต้านจุลชีพหลาย                เอกสารอ้างอิง
            ชนิดในหลอดทดลอง เช่น Gardnerella vaginalis,     1.  สมาคมโรงเรียนแพทย์แผนโบราณในประเทศไทย ส�านักวัด
                                                            พระเชตุพนฯ. ประมวลสรรพคุณยาไทย (ภาคสอง) ว่าด้วย
            Neisseria gonorrhea, Escherichia coli, Proteus   พฤกษชาติ วัตถุธาตุและ สัตว์วัตถุนานาชนิด. กรุงเทพฯ:
            mirabilis, Pseudomonas aeruginosa, Staphy-      โรงพิมพ์อ�าพลพิทยา; 2510. หน้า. 210-1
                                                          2.  ส�านักงานหอพรรณไม้ ส�านักวิจัยการอนุรักษ์ป่าไม้และพันธุ์
            lococcus aureus, Candida albicans สารสกัด       พืช กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช. ชื่อพรรณไม้
            เอทิลแอซีเทตและสารสกัดเมทานอลของฝิ่นต้นมี       แห่งประเทศไทย เต็ม สมิตินันทน์ ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม 2557.
                                                            กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ส�านักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ; 2557.
                                       [15]
            ฤทธิ์ยับยั้งเชื้อ Proteus mirabilis  สารสกัดเมทา  หน้า 323.
            นอลมีฤทธิ์แรงในการต้านเชื้อราชนิด Cryptococcus     3.  สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย (วว.).
                                                            ทรัพยากรพืชในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ 12 (1). พืช
            neoformans, Candida krusei, C. tropicalis และ
                                                            สมุนไพรและพืชพิษ เล่ม 1. พิมพ์ครั้งที่ 1. นนทบุรี: สหมิตร
            C. parapsilosis แต่มีฤทธิ์อ่อนต่อเชื้อ C. albicans   พริ้นติ้ง; 2546. หน้า 481-2.
   126   127   128   129   130   131   132   133   134   135   136