Page 111 - วารสารปีที่17ฉบับที่1
P. 111

J Thai Trad Alt Med                                    Vol. 17  No. 1  Jan-Apr 2019  101




            และระยะเวลาที่มีอาการปวดใกล้เคียงกันมากที่สุด   องศาที่ต้องการวัดคือ สามารถเคลื่อนไหวได้เองโดย
            โดยทั้ง 2 กลุ่ม มีค่าเฉลี่ยระดับความปวด และค่าเฉลี่ย  ไม่มีอาการปวด

            ระยะเวลาที่มีอาการปวดไม่แตกต่างกันตามหลักสถิติ       7.  การประเมินระดับความรู้สึกกดเจ็บ ด้วย
            โดยมีการก�าหนดรหัสกลุ่มตัวอย่างเพื่อรับการนวด  เครื่องวัดความแข็งของเนื้อเยื่อและระดับความรู้สึก
            ด้วยน�้ามันที่ก�าหนด                        กดเจ็บ (algometer) โดยกดลงที่ต�าแหน่งกล้ามเนื้อ

                 3.  การทดสอบอาการแพ้ให้แก่ผู้เข้าร่วมวิจัยใน  บริเวณบ่าตรงจุดกึ่งกลางของเส้นที่ลากจากหัวดุมไหล่
            กลุ่มตัวอย่างก่อนด�าเนินการทดลองโดยใช้น�้ามัน  (acromion process) ถึงกระดูกต้นคอชิ้นที่ 7 (C7)
            กระดูกไก่ด�าและน�้ามันไพลทาท้องแขนด้านในทั้ง 2   ให้แรงกดตั้งฉากกับผิวหนังด้วยความเร็วสม�่าเสมอ 4

            ข้าง ขนาดเท่าเหรียญ 5 บาท ทิ้งไว้นาน 5 นาที หากพบ  นิวตัน/วินาที (N/s) กลุ่มตัวอย่างจะกดสวิทช์ทันที
            ผื่นแดงจะคัดผู้เข้าร่วมวิจัยออกจากการศึกษา     เมื่อรู้สึก ใต้หัวกดเรซินเปลี่ยนจากแรงกดเป็นความ
                 4.  การสอบถามข้อมูลส่วนตัวจากกลุ่มตัวอย่าง  รู้สึกเจ็บ (painful) แล้วจึงอ่านค่าที่ได้

            แล้วบันทึกลงในข้อมูลส่วนบุคคล                    8.  การประเมินระดับความปวดด้วยแบบวัด
                 5.  การประเมินระดับความปวด โดยผู้ตรวจ  ระดับความปวด (numerical rating scale) ประเมิน

            ร่างกายใช้แบบวัดระดับความปวด (numerical rating   ระดับความรู้สึกกดเจ็บด้วยเครื่องวัดความแข็งของ
            scale)  โดยให้ผู้เข้าร่วมวิจัยบอกถึงตัวเลขที่แสดงถึง  เนื้อเยื่อและระดับความรู้สึกกดเจ็บ (algometer) และ
            ความปวดที่ผู้เข้าร่วมวิจัยมีขณะนั้น ๆ แล้วบันทึกลง  ประเมินการเคลื่อนไหวของคอ ในทิศทาง ก้ม เงย

            ในแบบวัดระดับความปวด (numerical rating      เอียงซ้าย และเอียงขวา ด้วยเครื่องมือวัดองศาการ
            scale)                                      เคลื่อนไหวของข้อ (inclinometer) หลังการรักษา 24

                 6.  การประเมินการเคลื่อนไหวของคอในทิศทาง   ชั่วโมงก่อนท�าการนวดครั้งถัดไป
            ก้ม เงย เอียงซ้าย และเอียงขวา ด้วยเครื่องมือวัดองศา      9.  การนวดด้วยน�้ามัน โดยให้ผู้เข้าร่วมวิจัยนั่ง
            การเคลื่อนไหวของข้อ เครื่องวัดองศาการเคลื่อนไหว   ห้อยขา หรือนั่งขัดสมาธิ ใช้มือข้างเดียวกับข้างที่จะ

            (inclinometer) วาง ในการวัดองศาการก้มและเงย   ท�าการนวด น�าน�้ามันตามรหัสที่ก�าหนด จ�านวน 10
            ผู้ตรวจประเมินจะใช้เครื่องวัดองศาการเคลื่อนไหว   หยด หยดลงบนแนวบ่าที่ 1 ใช้นิ้วหัวแม่มือกดรูดขึ้น
            (inclinometer) ไว้ที่บริเวณกึ่งกลางของศีรษะใน  จากเหนือบ่าขึ้นไปตามแนวข้างคอ 10 รอบ ด้วย

            ระนาบข้าง (sagittal plane) ตั้งค่าองศาอยู่ในระดับ   ความเร็ว 10 วินาที/รอบโดยกดรูดขึ้นอย่างเดียว มือ
            0 องศา แล้วให้ผู้รับการตรวจประเมินก้มหรือเงยจุด  อีกข้างประคองหน้าผากไว้ ท�าทั้ง 2 ข้าง และหยด
            สิ้นสุดขององศาที่ต้องการวัดคือ สามารถเคลื่อนไหว  น�้ามันจ�านวน 10 หยด หยดลงบนแนวบ่าที่ 2 ใช้นิ้วหัว

            ได้เองโดยไม่มีอาการปวด ส่วนการประเมินองศาการ  แม่มือกดรูดขึ้นจากเหนือหัวไหล่มาตามแนวเหนือ
            เอียงคอไปทางด้านข้างกระท�าในท่านั่งเช่นกัน แต่วาง  สะบักขึ้นไปตามแนวชิดกระดูกคอ 5 รอบ ด้วย

            เครื่องวัดองศาการเคลื่อนไหวที่บริเวณกึ่งกลางศีรษะ  ความเร็ว 10 วินาที/รอบ ท�าทั้ง 2 ข้าง โดยใช้เวลาใน
            ของผู้เข้าร่วมวิจัยในระนาบแบ่งหน้าหลัง (coronal   การนวดทั้งหมด 10 นาที ท�าการนวดจ�านวน 3 ครั้ง ใช้
            plane) ตั้งค่าองศาอยู่ในระดับ 0 องศา จุดสิ้นสุดของ  เวลาในการนวดห่างกัน 24 ชั่วโมง (ตามคู่มือแนวทาง
   106   107   108   109   110   111   112   113   114   115   116