Page 108 - วารสารปีที่17ฉบับที่1
P. 108

98 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก       ปีที่ 17  ฉบับที่ 1  มกราคม-เมษายน 2562





                 การนวดด้วยน�้ามันไพล                ประสิทธิผลต่อ
                                                       - ระดับความปวดกล้ามเนื้อคอ บ่า ไหล่
                                                       - ระดับความรู้สึกกดเจ็บกล้ามเนื้อคอ บ่า ไหล่
              การนวดด้วยน�้ามันกระดูกไก่ด�า            - องศาการเคลื่อนไหวของคอ


                                         ภาพที่ 1 กรอบแนวคิดการวิจัย



           กลุ่มตัวอย่�ง                                   1.  นักศึกษาที่มีอายุตั้งแต่ 18 ปีขึ้นไป ชายหรือ

                กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ศึกษาในครั้งนี้ คือ นักศึกษา  หญิง
           วิทยาลัยเทคโนโลยีทางการแพทย์และสาธารณสุข        2.  มีอาการปวดบริเวณคอ บ่า ไหล่ จากกลุ่ม
           กาญจนาภิเษก จ�านวน 60 คน ก�าหนดขนาดกลุ่ม    อาการออฟฟิศซินโดรม และมีระดับความปวดอยู่ใน

           ตัวอย่างโดยใช้ข้อมูลจากงานวิจัยการศึกษาเปรียบ  ระดับ 4 ขึ้นไป
           เทียบผลการนวดไทยกับการใช้ยาไดโคลฟีแนค (Di-      3.  ไม่มีโรคประจ�าตัว และความผิดปกติที่เป็น

           clofenac) ในการลดอาการปวดบ่า  เป็นงานวิจัย  ข้อห้ามในการนวดน�้ามันบริเวณคอ บ่า ไหล่ เช่น ผู้ที่
                                       [11]
           ทดลองแบบสองกลุ่ม เก็บข้อมูลทั้งก่อนและหลังการ  มีการอักเสบการติดเชื้อคือ ไข้มากกว่า 38 องศา
           ทดลอง กลุ่มตัวอย่างกลุ่มละ 30 คน โดยค่าเฉลี่ย  เซลเซียส ปวด บวม แดง ร้อน เป็นต้น

           ความรู้สึกกดเจ็บก่อนการทดลองของกลุ่มทดลอง       4.  ไม่มีอาการปวดที่มีสาเหตุมาจากอุบัติเหตุ
           มีค่าเท่ากับ 8.59 ค่าเฉลี่ยความรู้สึกกดเจ็บของกลุ่ม  หรือความผิดปกติของสมอง
           ควบคุมมีค่าเท่ากับ 10.58 และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน     5.  ไม่มีประวัติการแพ้น�้ามันไพลหรือกระดูกไก่

           มีค่าเท่ากับ 3.39 น�ามาค�านวณค่าขนาดอิทธิพล (ef-  ด�า
           fect size) ได้ค่าเท่ากับ 0.8 แล้วน�ามาประมาณขนาด     6.  ไม่มีอาการชา ร้าวลงแขนจากการกดทับของ
           ตัวอย่างจากตารางประมาณขนาดกลุ่มตัวอย่างแบบ  เส้นประสาท

           ทดสอบสมมุติฐานสองทาง ที่ระดับความเชื่อมั่น 0.05      7.  ไม่เป็นโรคที่ห้ามท�าหัตถการ ได้แก่ หอบ
           ได้ขนาดกลุ่มตัวอย่าง กลุ่มละ 20 คน แต่เพื่อป้องกัน  หืดระยะรุนแรง โรคลมชัก โรคติดเชื้อเฉียบพลัน โรค

           การสูญหายของกลุ่มตัวอย่างการทดลองได้เพิ่มกลุ่ม  กระดูกพรุนรุนแรง
           ตัวอย่างอีกกลุ่มละ 10 ราย จึงท�าให้มีขนาดกลุ่ม     8.  ไม่มีพยาธิสภาพที่คอ บ่า ที่ห้ามท�าหัตถการ
           ตัวอย่าง 30 คนต่อกลุ่ม โดยมีการสุ่มกลุ่มตัวอย่าง  ได้แก่ มีกระดูกแตก หัก ปริร้าว ที่ยังไม่ติดดี เป็น

           เข้าสู่การวิจัยด้วยการเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง  มะเร็ง
           (purposive sampling) และมีเกณฑ์การคัดเลือกผู้      9.  ไม่มีแผลเปิด แผลเรื้อรัง หรือมีรอยโรค

           เข้าร่วมวิจัย ดังต่อไปนี้                   ผิวหนังที่สามารถติดต่อได้ การบาดเจ็บภายใน 24
                เกณฑ์การคัดเลือกกลุ่มตัวอย่างเข้าร่วมการ  ชั่วโมง มีการผ่าตัดภายในระยะเวลา 1 เดือน มีหลอด
           ศึกษา                                       เลือดด�าอักเสบ
   103   104   105   106   107   108   109   110   111   112   113