Page 114 - วารสารปีที่17ฉบับที่1
P. 114

104 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก       ปีที่ 17  ฉบับที่ 1  มกราคม-เมษายน 2562




           2-amino benzyl alcohol, 2-(2’ amino benzyl)   กระแสประสาทที่แรงและเร็วกว่าการน�าสัญญาณของ
           amino benzyl alcohol O-methyl ethers, friede-  ใยประสาทความเจ็บปวด จึงท�าให้ระดับความปวดนั้น

                                                             [4]
           lin, lupeol และ β-sitosterol ซึ่งมีการทดสอบแล้ว  ลดลงได้  และอีกปัจจัยหนึ่งคือสารส�าคัญของน�้ามัน
                                                 [12]
           ว่ามีฤทธิ์ต้านการอักเสบและการบรรเทาอาการปวด    ไพลและน�้ามันกระดูกไก่ด�าต่างมีสรรพคุณที่ช่วยลด
                                                 [13]
           ซึ่งสอดคล้องกับงานวิจัยของ Arokiyaraj s. และคณะ    การอักเสบและช่วยลดอาการปวดของกล้ามเนื้อ
           ที่ศึกษาการต้านอักเสบกับการบรรเทาอาการปวดของ  สอดคล้องการการวิจัยเรื่องการเปรียบเทียบ
           สารสกัดจากใบกระดูกไก่ด�า พบว่า สารสกัดเอทานอล  ประสิทธิผลของยาแคปซูลสหัสธารากับยาเม็ดไดโคล
           จากใบกระดูกไก่ด�า ในขนาด 125, 250 และ 500 mg/  ฟีแนคในการรักษาอาการปวดกล้ามเนื้อของ ณัฏฐิญา

                                                                   [15]
           kg สามารถลดอาการปวด ที่เกิดจากวิธี Acetic acid-  ค้าผล และคณะ  ที่ท�าการประเมินประสิทธิผลของ
           induced writhing และวิธี hot-plate ของหนูเมาส์  ยาแคปซูล สหัสธาราเปรียบเทียบกับยาเม็ดไดโคล
           ได้                                         ฟีแนคในการรักษาอาการปวดกล้ามเนื้อ ซึ่งผลการ

                การนวดด้วยน�้ามันไพล สามารถลดระดับอาการ  ศึกษาแสดงให้เห็นว่าการรับประทานยาแคปซูลสหัส
           ปวด เพิ่มองศาการเคลื่อนไหวของคอทิศทางก้ม เงย   ธารา ขนาดวันละ 1,200 มิลลิกรัม นาน 7 วัน สามารถ

           เอียงไปทางด้านข้าง และเพิ่มขีดกั้นระดับความรู้สึก  ลดอาการปวดกล้ามเนื้อบ่าหรือต้นคอได้ไม่แตกต่าง
           กดเจ็บ อย่างมีนัยส�าคัญทางสถิติ ซึ่งสอดคล้องกับ  จากการใช้ยาเม็ดไดโคลฟีแนคขนาดวันละ 75
           ข้อมูลของคณะอนุกรรมการจัดท�าต�าราอ้างอิงยา  มิลลิกรัม

           สมุนไพรไทย ในคณะกรรมการคุ้มครองและส่งเสริม
                                 [9]
           ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย  ที่ได้ให้ข้อมูลเกี่ยวกับ           ข้อสรุป
           ไพลไว้อย่างครอบคลุม และระบุว่าการศึกษาวิจัยพรี     การวิจัยนี้พบว่าการนวดด้วยน�้ามันกระดูกไก่ด�า
           คลินิกและคลินิกพบว่าสารสกัดไพลมีฤทธิ์ต้านการ  และน�้ามันไพลต่างมีผลท�าให้ระดับอาการปวดลดลง
                                                 [14]
           อักเสบและยังสอดคล้องกับงานวิจัยของ Ozaki Y    องศาการเคลื่อนไหวคอ และระดับความรู้สึกกดเจ็บ
           ที่ศึกษาฤทธิ์ต้านการอักเสบของไพล พบว่าสารสกัด   เพิ่มขึ้นเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยส�าคัญทางสถิติที่ระดับค่า p
           เมทานอลจากเหง้าไพล สามารถต้านการอักเสบที่เกิด  < 0.05 และการนวดด้วยน�้ามันกระดูกไก่ด�ากับการ
           จากการฉีด carrageenin ที่อุ้งเท้าของหนูเมาส์ได้   นวดด้วยน�้ามันไพลมีผลต่อระดับอาการปวด องศา

                และนอกจากนี้ยังพบว่า ผลของการนวดระหว่าง  การเคลื่อนไหวคอ และระดับความรู้สึกกดเจ็บไม่แตก
           น�้ามันกระดูกไก่ด�าและน�้ามันไพล สามารถลดระดับ  ต่างกันอย่างมีนัยส�าคัญทางสถิติที่ระดับ p < 0.05 นั่น
           อาการปวด เพิ่มองศาการเคลื่อนไหวของคอ และเพิ่ม  คือทั้งน�้ามันกระดูกไก่ด�าและน�้ามันไพลต่างก็มี

           ระดับความรู้สึกกดเจ็บ ได้ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัย  ประสิทธิผลในการบรรเทาอาการปวดกล้ามเนื้อคอ บ่า
           ส�าคัญทางสถิติ ทั้งนี้เนื่องมาจากกระบวนการนวดมี  ไหล่ จากออฟฟิศซินโดรมได้ไม่แตกต่างกัน ดังนั้น

           อิทธิพลต่อความเจ็บปวด โดยการนวดจะเป็นการ    น�้ามันกระดูกไก่ด�าจึงเป็นทางเลือกหนึ่งเพื่อใช้บรรเทา
           กระตุ้นเส้นใยประสาทขนาดใหญ่เอ เบต้า (A bata   อาการปวดกล้ามเนื้อจากออฟฟิศซินโดรมแทนน�้ามัน
           fiber) ซึ่งเป็นเส้นใยประสาทที่มีการน�าสัญญาณของ  ไพลได้ ตลอดจนควรส่งเสริมให้มีการปลูกต้นกระดูก
   109   110   111   112   113   114   115   116   117   118   119