Page 61 - journal-14-proceeding
P. 61

บทคัดยอประกวดผลงานวิชาการประจําปการแพทยแผนไทย การแพทยพื้นบาน และการแพทยทางเลือกแหงชาติ ครั้งที่ 14


                                  OP60G0039  การศึกษาสารยับยั้งการแพรกระจายของเซลลมะเร็งเพาะเลี้ยง

                                  ในหลอดทดลองจากเหงากระชายดํา


               ภาณุพันธ ปญญาใจ, ปฐมาพร ปรึกษากร, ฉัตรภรณ ใจมา, กัญจนรัชต เศรษฐศุภพนา, ปนัดดา เทพอัคศร
               สถาบันชีววิทยาศาสตรทางการแพทย กรมวิทยาศาสตรการแพทย

               หลักการและเหตุผล มะเร็งเปนหนึ่งในปญหาสาธารณสุขของประเทศไทย  แมปจจุบันจะมียาตานมะเร็งหลาย

               ชนิดที่ใชในการรักษา  แตก็ยังไมมียาใดรักษาไดครอบคลุมหรือใหผลการรักษาที่โดดเดนเปนพิเศษ การวิจัย
               และพัฒนายาใหมสําหรับใชรักษามะเร็งจึงยังคงมีความสําคัญ  ซึ่งสมุนไพรไทยก็เปนอีกทางเลือกหนึ่งที่

               นาสนใจสําหรับนํามาวิจัย จากผลทดสอบฤทธิ์ยับยั้งการแพรกระจายของเซลลมะเร็งเพาะเลี้ยงในหลอด
               ทดลองของสารสกัดสมุนไพรจากพืชมากกวา 100 ชนิดในการศึกษาที่ผานมาของคณะผูวิจัย พบวาสารสกัด

               ของเหงากระชายดํามีฤทธิ์ดีในการยับยั้งการแพรกระจายของเซลลมะเร็งเพาะเลี้ยงในหลอดทดลอง จึงมีความ
               เปนไปไดที่เหงากระชายดําอาจมีศักยภาพที่จะนําไปพัฒนาเปนยาสําหรับรักษาโรคมะเร็ง


               วัตถุประสงค ศึกษาสารยับยั้งการแพรกระจายของเซลลมะเร็งเพาะเลี้ยงในหลอดทดลองชนิดตาง ๆ จากเหงากระชายดํา


               วิธีดําเนินการ การแยกบริสุทธิ์สารดําเนินการตามหลักการ Bioassay-guided separation  โดยใชผลทดสอบ
               ฤทธิ์ยับยั้งการแพรกระจายของเซลลมะเร็งเพาะเลี้ยงในหลอดทดลองดวยวิธี Scratch assay การแยกสารเริ่ม

               จากการนําเหงากระชายดําแหงมาสกัดโดยการหมักดวยเอทานอล  แลวสกัดแยกตอดวยตัวทําละลายอินทรีย
               จากนั้นนําสารสกัดที่แสดงฤทธิ์มาแยกบริสุทธิ์โดยใชคอลัมนชนิดซิลิกาเจล ใชวัฏภาคเคลื่อนที่เปนคลอโรฟอรม

               และเมทานอล นําสวนที่มีฤทธิ์ดีมาแยกบริสุทธิ์ในลําดับสุดทายดวย ODS  HPLC  ใชวัฏภาคเคลื่อนที่เปน
               สารละลายเมทานอล  แลวนําสารออกฤทธิ์ไปวิเคราะหโครงสรางทางเคมีโดยใชขอมูล 2D-NMR และ MS  ทํา

               การทดสอบฤทธิ์ยับยั้งการแพรกระจายของเซลลมะเร็งเพาะเลี้ยงในหลอดทดลองของสารออกฤทธิ์ที่แยกไดใน

               เซลลมะเร็งปากมดลูก (HeLa) เซลลมะเร็งทอน้ําดี (HuCCA-1) และเซลลมะเร็งตับ (PLC/PRF/5)  และ
               ทดสอบยืนยันฤทธิ์อีกครั้งดวยวิธี Transmembrane assay ในเซลลมะเร็งปากมดลูก (HeLa)


               ผลการศึกษา จากการแยกบริสุทธิ์และวิเคราะหโครงสรางทางเคมี  พบวาสารออกฤทธิ์ในเหงากระชายดําเปน
               สารกลุม Flavonoids โดยสารที่แยกบริสุทธิ์ได คือ 3,5,7,3’,4’-pentamethoxyflavone (1),  5,7,4’-

               trimethoxyflavone (2) และ 5-hydroxy-,7,4’-dimethoxyflavone (3)  เมื่อทดสอบฤทธิ์ดวยวิธี Scratch assay

               พบวาสารทั้ง 3 ชนิดแสดงฤทธิ์ที่ความเขมขนระหวาง 3 – 100 ไมโครกรัม/มิลลิลิตร ขึ้นกับชนิดของเซลลที่ใช
               ทดสอบ และเมื่อนํามาทดสอบดวยวิธี Transmembrane assay พบวาที่ความเขมขน 10 ไมโครกรัม/มิลลิลิตร

               (1),  (2) ยับยั้งการแพรกระจายของเซลลเพาะเลี้ยงมะเร็งปากมดลูกในหลอดทดลองลดลงเหลือ 54.11 ± 10.01%
               และ 31.60 ± 6.29% ตามลําดับ  แต (3)  ไมแสดงฤทธิ์ที่ความเขมขนต่ํากวา 10 ไมโครกรัม/มิลลิลิตร


               ขอสรุป ผลการศึกษานี้เปนขอมูลเบื้องตนที่แสดงวาสารกลุม Flavonoids ในสารสกัดเหงากระชายดําแสดง

               ฤทธิ์ดีในการยับยั้งการแพรกระจายของเซลลมะเร็งเพาะเลี้ยงในหลอดทดลอง  อยางไรก็ดีจําเปนตองมี
               การศึกษาเพิ่มเติมดานประสิทธิผลและความปลอดภัยในสัตวทดลองและมนุษยตอไป


                                                         59
   56   57   58   59   60   61   62   63   64   65   66