Page 62 - journal-14-proceeding
P. 62

บทคัดยอประกวดผลงานวิชาการประจําปการแพทยแผนไทย การแพทยพื้นบาน และการแพทยทางเลือกแหงชาติ ครั้งที่ 14

                                  OP60G0048 การศึกษาความปลอดภัยทางคลินิกของยาสมุนไพรไทยในศิลาจารึก


                                  ตํารายาวัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามสําหรับรักษาโรคจมูกอักเสบเหตุภูมิแพ
                                  เรื้อรัง: การศึกษาแบบสุม ปกปดสองดาน ควบคุมดวยยาหลอก


                               1
                                                               3
               ศศิธร ตัณฑวรรธนะ , วิรัช เมฆอนันต์ธวัช , เบ็ญจลักษณ์ ผลรัตน์ , ชยันต์ พิเชียรสุนทร , พรรณี ปิติสุทธิธรรม 3
                                                                               4,5
                                               2
               1  คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคําแหง   ศูนย์ความเป็นเลิศทางการแพทย์โรคติดเชื้อ โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทย                      3
                                           2
                                            4
                                                                                  5
               คณะเวชศาสตร์เขตร้อน มหาวิทยาลัยมหิดล  วิทยาลัยการแพทย์ทางเลือก มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม   สํานักวิทยาศาสตร์
               ราชบัณฑิตยสภา สนามเสือป่า เขตดุสิต กรุงเทพฯ 10300,

               หลักการและเหตุผล  ความชุกของโรคจมูกอักเสบเหตุภูมิแพเพิ่มขึ้นอยางมีนัยสําคัญทั่วโลก การศึกษาความ
               ปลอดภัยทางคลินิกของยาสมุนไพรไทยตํารับที่ 3  ในศิลาจารึกตํารายาวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม วาดวย
               ฆานะหฤศโรคในศิลาจารึกตํารายาวัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามที่ประกอบดวยตัวยา 6  สิ่งไดแกราก
               เจตมูลเพลิงแดง รากสลิด ขิงแหง ดองดึง ดีปลีสิ่งละสวน พริกไทย 3 สวน เปนยาสมุนไพรตํารับสําหรับบําบัด

               โรคจมูกอักเสบเหตุภูมิแพที่มีหลักฐานความปลอดภัยและประสิทธิศักยมาแลวในอดีต แตยังไมเคยมีการศึกษา
               ทางคลินิกมากอน

               วัตถุประสงค เพื่อศึกษาความปลอดภัยและเลือกขนาดยาที่เหมาะสมสําหรับผูปวยในคนสุขภาพดี รวมทั้ง

               ศึกษาความปลอดภัยของยาในผูปวยโรคจมูกอักเสบเหตุภูมิแพเรื้อรัง

               วิธีดําเนินการ งานวิจัยนี้เปนการศึกษาความปลอดภัยทางคลินิกของยาสมุนไพรไทยในคนสุขภาพดี 1  กลุม

               แบบไมปกปดทุกฝาย จํานวนอาสาสมัครทั้งสิ้น 16 คน โดยเริ่มจากคัดกรองผูใหญสุขภาพดีจํานวน 11 คน สุม
               เขากลุมที่หนึ่ง 5 คน กินยาสมุนไพรไทย 2 แคปซูล/มื้อ (1.12 กรัม/มื้อ) 3 มื้อ/วัน และกลุมที่สอง 6 คน กินยา
               สมุนไพรไทย 3 แคปซูล/มื้อ (1.68 กรัม/มื้อ) 3 มื้อ/วัน ติดตอกันนาน 4 สัปดาห จากนั้นคัดเลือกผูใหญสุขภาพ
               ดีใหมอีก 5 คน ศึกษาซ้ําในขนาดยาที่เลือกจากกลุมที่หนึ่งหรือกลุมที่สองเพื่อยืนยันความปลอดภัยของยา แลว
               จึงศึกษาความปลอดภัยทางคลินิกในผูปวยโรคมูกอักเสบเหตุภูมิแพเรื้อรัง แบบสุม ปกปดสองดาน ควบคุมดวย

               ยาหลอก โดยคัดกรองผูปวยจากการทดสอบภูมิแพทางผิวหนังดวยวิธีสะกิด (Skin prick test) ไดอาสาสมัคร
               ทั้งสิ้น 44  คน สุมเขากลุมกินยาสมุนไพรไทย 22  คน และกลุมกินยาหลอก 22  คน กินยาติดตอกันนาน 4
               สัปดาห ประเมินความปลอดภัยของยาสมุนไพรไทย โดยทั้งแพทยและผูปวยไมทราบวาเปนยาชนิดใด


               ผลการศึกษา อาสาสมัครสุขภาพดีทั้งสิ้น 16  คน อายุเฉลี่ย 22.8±1.2 ป เปนเพศหญิงรอยละ 75 การศึกษา
               ระดับปริญญาตรีรอยละ 100 ขนาดการใชยาที่เหมาะสมคือ 2 แคปซูล/มื้อ  (1.12  กรัม/มื้อ) หลังอาหารเชา
               กลางวัน และเย็น ความปลอดภัยของยาประเมินจากผลการตรวจเลือดอยูในเกณฑปรกติไมมีความแตกตาง

               อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (p > 0.05) ระหวางกอนและหลังกินยา อาการไมพึงประสงคที่ไมรายแรงพบอาการ

               แสบทอง  แสบจมูก  ถายเหลว และรูสึกรอนเล็กนอย-ปานกลาง สวนอาสาสมัครผูปวยทั้งสิ้น 44  คน อายุ
               เฉลี่ย 42.1±15.35 ป เปนเพศหญิงรอยละ 66 การศึกษาระดับปริญญาตรีรอยละ 57 ความปลอดภัยของยา
               ประเมินจากผลการตรวจเลือดอยูในเกณฑปรกติไมมีความแตกตางอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (p >  0.05)

               ระหวางยาสมุนไพรไทยและยาหลอก อาการไมพึงประสงคที่ไมรายแรงพบโอกาสที่ยาสมุนไพรไทยจะเกิด
               อาการถายเหลวมากกวายาหลอก 2.14 เทาอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (p = 0.029, 95% CI = 1.10 to 4.16)

               ขอสรุป ยาสมุนไพรไทยขนานนี้มีความปลอดภัยในการใชที่ขนาด 2 แคปซูล/มื้อ (1.12 กรัม/มื้อ) หลังอาหารเชา

               กลางวัน เย็น แตอาจพบอาการถายเหลวในระดับที่ยอมรับได เปนยาสมุนไพรไทยที่มีศักยภาพในการศึกษาตอไป

                                                         60
   57   58   59   60   61   62   63   64   65   66   67