Page 59 - journal-14-proceeding
P. 59

บทคัดยอประกวดผลงานวิชาการประจําปการแพทยแผนไทย การแพทยพื้นบาน และการแพทยทางเลือกแหงชาติ ครั้งที่ 14


                                     OP60G0001 การศึกษาประสิทธิผลการนวดแบบราชสํานักตอการรักษาอาการ
                                     ปวดหลังจากโรคลมปลายปตฆาตสัญญาณ 3 หลัง



               อํานวย  พิมพบุตร, สมคิด  กาละนิโย, ทะนง  พาละเอ็น
               ศูนยสงเสริมสุขภาพแผนไทยโรงพยาบาลโกสุมพิสัย อ.โกสุมพิสัย  จ. มหาสารคาม


               หลักการและเหตุผล  ปจจุบันพบวาอาการปวดหลังเปนปญหาสุขภาพที่พบไดบอยทุกเพศทุกวัยที่ทํางานมาก
               เกินไปหรืออริยาบถไมถูกตองที่เกิดขึ้นกับชีวิตประจําวัน  บางคนปวดหลังเปนประจํา มักเปน ๆ หาย ๆ การ
               ทํางานกม ๆ เงย ๆ ยกของหนัก  การนั่ง  ยืน  นอน  การเคลื่อนไหวผิดทา  อุบัติเหตุ  เปนตน มีผลทําให

               ผูปวยเกิดปญหาทางรางกายและจิตใจเศรษฐกิจและสังคมตามมา การรักษามีหลายวิธี เชน การรักษาทางยา
               การนวดพื้นบาน  การนวดแบบราชสํานัก  การฝงเข็มการประคบสมุนไพรการใชวิธีการนวดยังผลใหเสนใย
               กลามเนื้อที่แข็งเกร็งคลายตัวลงและระงับอาการปวดได  การนวดไทยแบบราชสํานักมาใชรักษาอาการปวด
               หลังซึ่งมีผลตอการไหลเวียนโลหติและสามารถดูแลสุขภาพของประชาชน


               วัตถุประสงค เพื่อการศึกษาประสิทธิผลการนวดแบบราชสํานักตอการรักษาอาการปวดหลังจากโรค
               ลมปลายปตฆาตสัญญาณ 3 หลัง


               วิธีดําเนินการ การวิจัยครั้งนี้เปนการวิจัยกึ่งทดลอง ผูปวยชาย – หญิง อายุตั้งแต 20 ปขึ้นไป ที่มารับบริการ
               ดวยอาการปวดหลัง ที่แผนกผูปวยนอกจํานวน 30คน โดยวิธีการเลือกแบบเจาะจง  แบบวัดผลกอน-หลัง
               แบบสอบถามการยินยอมเขารับการรักษา ใชเวลาในการนวดรักษา 1 ชั่วโมง  นวดติดตอกัน 3 ครั้ง  วันเวนวัน
               การคัดเลือกผูปวย ที่ไมรับประทานยาแผนปจจุบันไมมีภาวะแทรกชอนไดรับการตรวจวินิจฉัยจากแพทยแผน

               ปจจุบันระยะเวลาศึกษาวิจัย:ระหวางเดือน กรกฎาคม 2559 ธันวาคม 2559

               ผลการศึกษา การศึกษาในครั้งนี้เปนการศึกษาผลกานวดแผนไทยแบบราชสํานักตอการรักษาอาการปวดหลัง

               โดยศึกษาในกลุมตัวอยางผูปวย จํานวน 30 คน ทําการนวด 3 ครั้ง วัดผลกอนการนวดและหลังการนวด พบวา
               การนวดไทยแบบราชสํานักมีผลตอการรักษาอาการปวดหลังอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (p<0.001) โดยสังเกต
               ไดจากคาเฉลี่ยของการปวดลดลงเรื่อยๆจากระดับ 8.30 มีคา SD±7.23 ในวันแรกกอนการนวดและเปนระดับ
               0.13  มีคา  SD±3.45 ในวันสุดทายสอดคลองกับการศึกษาของผูชวยศาสตราจารยประโยชน บุญสินสุขและ
               คณะพบวาการนวดชวยลดการปวดกลามเนื้อและปวดอื่นๆซึ่งเกิดจากการไหลเวียนเลือดหรือพังผืดยึดติดได

               คอนขางดี

               ขอสรุป จากการวิเคราะหขอมูลพบวาสมมุติฐานการศึกษาไดรับการสนับสนุนการนวดไทยแบบราชสํานักตอ

               การรักษาอาการปวดหลังจากโรคลมปลายปตฆาตสัญญาณ 3 หลังสามารถลดอาการปวดหลังในผูปวยไดดวย
               เหตุนี้จึงเปนการสมควรที่จะสงเสริมภูมิปญญาไทยในการดูแลสุขภาพเพื่อลดผลขางเคียงที่มีอันตรายตอ
               รางกายจากการใชยาแกปวดและลดคาใชจายอีกประการหนึ่งดวย






                                                         57
   54   55   56   57   58   59   60   61   62   63   64