Page 233 - Acrobat J Trad-21-3-2566
P. 233

716 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก       ปีที่ 21  ฉบับที่ 3  กันยายน-ธันวาคม 2566




           ปัจจุบัน โดยมีการวิเคราะห์สารส�าคัญในส่วนประกอบ  สมานแผลที่ผ่านการคัดเลือกไปทดสอบประสิทธิผล
           แต่ละชนิดและวิเคราะห์สารส�าคัญรวมในต�ารับยาเพื่อ  ในการสมานแผลในสัตว์ทดลองและมนุษย์แล้วพบ

           ใช้ประโยชน์ในการผลิตยาหรือท�าวิจัยแต่ละครั้ง  ว่าต�ารับยาที่ผ่านการคัดเลือกโดยรูปแบบวิธีการนี้มี
                                                       ประสิทธิผลในการสมานแผลที่ดี [18-19]
                          บทวิจ�รณ์                        การศึกษาครั้งนี้ได้มีการจัดการความรู้ที่


                จากการรวบรวมต�ารับยารักษากลุ่มอาการทาง  เกี่ยวข้องกับต�ารับยาที่ใช้บ�าบัดกลุ่มอาการกล้ามเนื้อ
           กล้ามเนื้อและกระดูกจ�านวน 8 รายการในครั้งนี้มี  และกระดูก และคัดเลือกต�ารับยาที่ใช้บ�าบัดกลุ่ม
           ต�ารับที่มีศักยภาพทั้งในด้านวัตถุดิบที่มีแหล่งที่มาที่  อาการดังกล่าวในรูปแบบยาใช้ภายนอก และคัดเลือก

           ถูกต้อง วิธีการปรุงที่ชัดเจน สามารถเตรียมได้ง่าย  ต�ารับยาที่มีลักษณะที่ดี ที่สามารถน�าไปศึกษาวิจัย
           ทั้งหมด 10 ต�ารับ โดยเป็นต�ารับยาส�าหรับทา ประคบ   พัฒนาต่อยอดได้จ�านวน 10 ต�ารับ หากได้น�าไปศึกษา
           และพอก ในแต่ละต�ารับมีสรรพคุณที่ช่วยรักษากลุ่ม  วิจัยต่อยอดน่าจะให้ผลลัพธ์ที่ดีและน่าสนใจ มีโอกาส

           อาการทางกล้ามเนื้อและกระดูกที่แตกต่างกันขึ้นอยู่  สูงที่จะได้ผลิตภัณฑ์ยาที่พัฒนาจากองค์ความรู้ดั้งเดิม
           กับลักษณะอาการของโรค ท�าให้เราสามารถเลือก   เพื่อใช้ในการบ�าบัดอาการทางกระดูกและกล้ามเนื้อได้

           ใช้ได้อย่างเหมาะสม จากการทบทวนวรรณกรรมเพิ่ม
           เติมพบว่าต�ารับยาที่ผ่านเกณฑ์ดังกล่าว พบการศึกษา            ข้อสรุป
           หลายชิ้นที่สนับสนุนว่าต�ารับยานั้น ๆ ส่งผลดีเมื่อน�า     จากการศึกษารวบรวมข้อมูลต�ารับยาที่บันทึกไว้

           มาใช้บ�าบัดอาการที่เกี่ยวข้องกับระบบกระดูกและ  ในเอกสารต�ารับยาโบราณ ต�ารา ศิลาจารึก และคัมภีร์
           กล้ามเนื้อ อาทิ การศึกษาประสิทธิผลของยาทาพระ  โบราณต่าง ๆ จ�านวน 8 รายการ มีต�ารับยาที่ใช้บ�าบัด

                                          [15]
           เส้นในการบรรเทาปวดจากโรคหัวไหล่ติด  ความพึง  กลุ่มอาการทางกล้ามเนื้อและกระดูกในต�าราจ�านวน
           พอใจจากการใช้ต�ารับยาทาพระเส้น ต่อการรักษาโรค  ทั้งสิ้น 250 ต�ารับ และมีต�ารับยาที่ประกอบด้วยเครื่อง
           ลมจับโปงแห้งเข่า โรงพยาบาลการแพทย์แผนไทยและ  ยาที่หาง่ายทราบแหล่งที่มามีการระบุสัดส่วนเครื่องยา

                           [16]
           การแพทย์ผสมผสาน  และมีต�ารับยาน�้ามันมหาจักร   แต่ละชนิด และมีวิธีปรุงที่ชัดเจน สามารถปรุงได้ตาม
           สามารถลดระดับความปวดกล้ามเนื้อบ่าและต้นคอ   แบบวิธี มีโอกาสในการวิจัยและพัฒนาเป็นต�ารับยาใช้
           เพิ่มองศาการเคลื่อนไหวของคอ และลดกล้ามเนื้อบ่า  ภายนอกในการบ�าบัดอาการทางกล้ามเนื้อและกระดูก

           แข็งเกร็งได้ดีกว่า 1% ไดโคลฟีแนคเจล         จ�านวน 10 ต�ารับ
                                         [17]
                การคัดเลือกต�ารับยาที่ได้จัดท�าขึ้นในครั้งนี้มีรูป
                                                                     References
           แบบการคัดเลือกต�ารับยาที่ก�าหนดเกณฑ์ในการคัด
                                                         1.  Achananuparp S. Textbook of general medical examina-
           เลือกเป็นขั้น ๆ ลงมา รูปแบบดังกล่าวมีความคล้ายกัน  tions: the musculoskeletal system. 5th ed. Bangkok: Mor
           กับการคัดเลือกต�ารับยาแผนไทยบ�าบัดอาการผิวหนัง  Chao Ban Publisher; 2013. (in Thai)

           อักเสบ  และเป็นวิธีการที่คล้ายกับการคัดเลือกต�ารับ    2.  Food and Drug Administration. Thai National List of
                [12]
                                                           Essential Medicine 2018. [Internet] 2018 [cited 2019 Oct
                                  [13]
           ยาสมานแผลอย่างเป็นระบบ  ซึ่งเมื่อน�าต�ารับยา    4]; Available from: http://www.fda.moph.go.th/. (in Thai)
   228   229   230   231   232   233   234   235   236   237   238