Page 275 - วารสารการแพทย์แผนไทย ปีที่ 21 ฉบับที่ 2
P. 275
J Thai Trad Alt Med Vol. 21 No. 2 May-Aug 2023 491
เบ้าหลอมหมอพื้นบ้าน จิตอาสาแห่งบ้านนามน กับค่าบูชาครู 12 บาท โดยอาจารย์เคนเป็นอาจารย์
ที่สกลนคร จากประเทศลาวเดินทางมารักษาอาการป่วยแขนขา
บ้านนามน เป็นหมู่บ้านในอ�าเภอโคกศรีสุพรรณ ไม่มีเเรงในฝั่งไทย และได้พาหมอบุญมาไปตั้งสัจ
ซึ่งเป็นอ�าเภอชายขอบของจังหวัดสกลนคร ไม่ไกล ปฏิญาณต่อหน้าพระธาตุพนม พ่อหมอบุญมาจดจ�า
จากฝั่งแม่น�้าโขงติดพรมแดนประเทศสาธารณรัฐ ช่วงเวลาส�าคัญที่ครูหมอพาศิษย์น้อยคนนี้ไปตั้งสัจ
ประชาธิปไตยประชาชนลาว แม้จะเคยเป็นหมู่บ้าน ปฏิญาณต่อหน้าพระธาตุพนม พุทธเจดีย์ศักดิ์สิทธิ์
ชายแดนห่างไกลความเจริญ หากทว่าบ้านนามนเป็น สูงสุดแห่งดินแดนศรีโคตรบูรณ์ ว่า
ที่รู้จักเป็นถิ่นพระพุทธศาสนาส�าคัญของดินแดนอีสาน “ข้าน้อยผู้สืบทอดวิชาในการรักษา จะมีความ
จากการที่ครั้งหนึ่งมีหลวงปู่เสาร์ กนฺ ตสีโลและหลวง ซื่อสัตย์ต่อผู้ป่วย ไม่โลภเห็นแก่ลาภ ไม่หลอกลวง
ปู่มั่น ภูริทตฺโตพระอาจารย์กรรมฐานใหญ่เคยธุดงค์ ผู้ป่วย อาทิ ข้อปฏิบัติในการรักษา จะมีเพียงค่าขึ้นขันธ์
มาปลักกลด ณ หมู่บ้านแห่งนี้ โดยหลวงปู่มั่นเองได้ บูชาครูครั้งละ 10 บาท ค่ายามัดละ 5 บาท ไม่ให้เรียก
กลับมาจ�าพรรษาที่นี่อีกครั้งหนึ่งในปี พ.ศ. 2486 ดัง ร้องค่ารักษาจากผู้ป่วยมากกว่านี้ หากผิดค�าสาบาน
มีวัดป่านาคนิมิตต์หรือวัดป่าบ้านนามนเป็นพยาน ขอให้สิ่งศักดิ์สิทธิ์ลงโทษให้มีอันเป็นไป’’
หลักฐานอยู่ ซึ่งแสดงว่าบ้านนามนเป็นแหล่งรุกขมูล ช่วงการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19
สัปปายะเหมาะแก่การปฏิบัติธรรมกรรมฐาน และสิ่ง ระยะแรกพ่อหมอบุญมามิได้หยุดการให้บริการ
ส�าคัญคือ เหตุการณ์นั้นเป็นเครื่องแสดงว่าไทบ้านนา รักษาโรค ช่วงนั้นมีผู้ป่วยลดลงเหลือเพียงวันละ 5-10
มนตั้งมั่นอยู่ในศีลธรรมอันดี และหมู่บ้านอันเป็น คน ท่านได้ใช้มาตรการป้องกันการแพร่ระบาดของโรค
สัปปายนิคมแห่งนี้เอง เป็นที่ก�าเนิดของหมอพื้นบ้าน โควิด-19 ภายในเรือนพยาบาลของท่านอย่างเคร่งครัด
ผู้มีคุณธรรมหลายท่าน ผู้เป็นที่พึ่งของไทบ้านในยาม และเมื่อต้องปิดรับการรักษาที่บ้านในช่วงต้นปี พ.ศ.
เจ็บไข้ได้ป่วย พ่อหมอบุญมา มุงเพีย เป็นคนหนึ่งที่ 2565 จนถึงเดือนเมษายน พ.ศ. 2566 ท่านยังจัดยาส่ง
ถือก�าเนิดในบ้านนามน เป็นปีถัดจากปีที่หลวงปู่มั่น ให้ผู้ป่วยรายเก่าทางไปรษณีย์ตลอดทุกเดือน ที่ส�าคัญ
มาอยู่จ�าพรรษาและอบรมกรรมฐานให้แก่พุทธบริษัท หมอบุญมาได้ท�างานร่วมกับเจ้าหน้าที่สาธารณสุขเยี่ยม
ที่เดินทางมาทั่วสารทิศ ให้ก�าลังใจและแนะน�าการปฏิบัติตัวให้กับชาวบ้าน
บิดาของพ่อหมอบุญมา ชื่อ พ่อใหญ่เคี้ยน เป็น หลังสถานการณ์โรคระบาดร้ายแรงคลี่คลาย
หมอพื้นบ้านคนหนึ่งซึ่งเป็นที่พึ่งฝากผีฝากไข้ของ เรือนพยาบาลของพ่อหมอบุญมาได้เปิดให้บริการ
ชุมชนในยุคที่สถานบริการสาธารณสุขยังไม่มี หมอ เป็นปกติแล้ว มีผู้ป่วยมารับการรักษาจ�านวนมากทั้ง
บุญมาได้คลุกคลีกับหมอพื้นบ้านมาตั้งแต่วัยเยาว์และ เช้า-บ่าย ตกค�่ายังมีเปิดรักษาโรคเด็กเป็นพิเศษ ด้วย
เริ่มฉายแววความเป็นหมอน้อยมาตั้งแต่เด็ก วิถีชีวิตที่ ค่าบูชาครู 10 บาทรักษาทุกโรคซึ่งยืนพื้นราคานี้มา
คลุกคลีกับนายเคี้ยน มุงเพีย ผู้เป็นทั้งพ่อเเละอาจารย์ ตลอดครึ่งศตวรรษไม่เคยเปลี่ยนแปลง
ถ่ายทอดความรู้ภูมิปัญญาสมุนไพร กระทั่งอายุ 14 ภูมิปัญญายาสมุนไพรพื้นบ้านกับยา 9 ต�ารับ
ปี (ปี 2501) พ่อหมอบุญมาจึงได้เข้าพิธีมอบตัวเป็น ของพ่อหมอบุญมา มุงเพีย
ศิษย์ตามธรรมเนียมปฏิบัติด้วยการยกขันธ์ 5 พร้อม (1) ต�ารับยารักษาไข้หมากไม้ ประกอบด้วย