Page 278 - วารสารการแพทย์แผนไทย ปีที่ 21 ฉบับที่ 2
P. 278
494 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ปีที่ 21 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2566
คลองมะขามเฒ่า จังหวัดชัยนาท ต�าราพ่อท่านทอง วัด รูปแบบการรักษาและค่ารักษาพยาบาล
คลองแห จังหวัดสงขลา เป็นต้น นอกเหนือจากความรู้ ผู้ป่วยที่มารับการรักษาครั้งแรกจะต้องท�า
ที่ได้จากลุง ตา พระครูแสน โอภาโส และต�ารา “ไม้เทศ พิธีการตั้งครู คือ การเชิญครูบาอาจารย์มารักษา เพื่อ
เมืองไทย’’ ของหมอเสงี่ยม พงษ์บุญรอด แสดงความเคารพต่อครู ประกอบด้วย หมากพลู 5 ค�า
หลังจากศึกษาหาความรู้จนมั่นใจพอสมควร เทียน 1 เล่ม ดอกไม้ และเงินจ�านวน 112 บาท น�ามาจัด
แล้ว พ่อหมอประวิทย์ได้เริ่มท�าการรักษาคนเจ็บป่วย ใส่ขันครูด้วยตัวเอง โดยให้ใบพลูหงาย เป็นความเชื่อ
ที่มาหา เริ่มจากคนในครอบครัว ญาติพี่น้อง จนกระทั่ง ว่า หงาย หมายถึง หาย หลังจากนั้นจะไม่เรียกเก็บค่า
อายุได้ 35 ปี จึงรับรักษาบุคคลภายนอก โรคหรือ รักษาใด ๆ จากผู้ป่วย ไม่ว่าจะมารักษากี่ครั้งก็ไม่เก็บ
อาการที่รักษาส่วนมาก ได้แก่ โรคหมอนรองกระดูก เงินอีกเลย โดยส่วนใหญ่ผู้ป่วยที่เคยรับการรักษาจน
ทับเส้นประสาท อัมพฤกษ์ อัมพาต เส้นเอ็นพลิก เส้น หาย ก็จะน�าเงินและข้าวของมามอบให้ในพิธีวันไหว้
เอ็นจม สะบักจม ไหล่ติด ปวดเข่า ต่อมาก็รักษาโรค ครูประจ�าปีในทุก ๆ ปี ณ บ้านหมอประวิทย์ แก้วทอง
ระดูสตรี วัยทอง โดยคิดค่าบูชาครูเป็นเงิน 112 บาท ซึ่งจัดขึ้นในวันพฤหัสบดีที่ 1 ของเดือน 6 (ตามปฏิทิน
พร้อมดอกไม้ ธูป เทียน ครั้งเดียวจนกว่าจะหาย จันทรคติไทย) พิธีไหว้ครูนี้เป็นพิธีที่ได้รับการสืบทอด
พ่อหมอประวิทย์มีความรู้ความช�านาญที่เพิ่ม มาจากหมอเพื่อม ศรีแก้วเขียว เพื่อแสดงความเคารพ
ขึ้นเรื่อย ๆ และมีความตั้งใจช่วยเหลือในการดูแล ต่อครูบาอาจารย์ และตัดโรค ภัยไม่ให้กลับมาเป็นซ�้า
รักษาอย่างเอาใจใส่ คนเจ็บคนป่วยจ�านวนมากหาย นอกจากมีการใช้กรรมวิธีการนวดบ�าบัดแล้ว พ่อ
จากโรคและอาการที่ทุกข์ทรมาน ท�าให้มีคนนิยมมา หมอประวิทย์ยังใช้รูปแบบการรักษาด้วยยาสมุนไพร
รับการรักษาจากวันละคนสองคน เพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ จน มี 4 ต�ารับ ได้แก่ ต�ารับยาที่ช่วยในการขับถ่าย ช่วย
เฉลี่ยราวเดือนละ 1,500 คน อีกทั้งได้รับการยอมรับ บ�ารุงและแต่งเส้นหรือกล้ามเนื้อ ช่วยบ�ารุงสมอง และ
จากสถานบริการสาธารณสุขและส�านักงานสาธารณสุข ช่วยปรับธาตุให้สมดุล โดยจะรับประทานก่อนอาหาร
จังหวัดสงขลา นอกจากนั้นแล้วมหาวิทยาลัยสงขลา กลุ่มโรคที่มีผู้ป่วยรองลงมา คือ โรคเรื้อรัง เช่น โรค
นครินทร์ยอมรับบทบาทและความรู้ภูมิปัญญาการ เบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง เป็นต้น ส่วนรูปแบบ
ดูแลรักษาของพ่อหมอประวิทย์ เชิญไปเป็นวิทยากร ยาที่ใช้มี 4 แบบคือ ยาต้มกิน ยาประคบ ยาพอก และ
ถ่ายทอดความรู้ให้กับนักศึกษาแพทย์แผนไทย มีการ ยาต้มอาบ หากเป็นยาต้มกิน ซึ่งเป็นรูปแบบยาที่ใช้
รวบรวมองค์ความรู้ภูมิปัญญาและให้มีการศึกษาวิจัย มากที่สุด พ่อหมอประวิทย์จะจดต�ารับยาให้กับผู้ป่วย
1
ปี 2564 มีผลงานการศึกษาจ�านวนเกือบ 20 เรื่อง ไปจัดหาจัดซื้อเองภายนอก แล้วน�ากลับมาให้พ่อหมอ
ตรวจสอบความถูกต้องครบถ้วนของต�ารับยาและท�า
1 สิริพร จารุกิตติ์สกุล. (2564). ภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้านภาคใต้ พิธีปลุกเสกยา ก่อนให้ผู้ป่วยน�าไปต้มกินต่อไป แต่
หมอประวิทย์ แก้วทอง เล่มที่ 1 : โรคหมอนรองกระดูกสันหลังส่วน
เอวทับเส้นประสาท. สงขลา:คณะการแพทย์แผนไทย มหาวิทยาลัย ถ้าเป็นยารูปแบบอื่น ได้แก่ ยาประคบ ยาพอกและยา
สงขลานครินทร์ ต้มอาบ พ่อหมอประวิทย์จะใช้สมุนไพรสดเป็นส่วน