Page 254 - วารสารการแพทย์แผนไทย ปีที่ 21 ฉบับที่ 2
P. 254
470 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ปีที่ 21 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2566
ส่วนใหญ่ในปัจจุบันยังได้สังเคราะห์สารประกอบ ฮอร์โมน ระบบภูมิคุ้มกัน ระบบไหลเวียนโลหิต และ
ต่าง ๆ ทางเคมีโดยมี AG เป็นอนุพันธ์เพื่อมาศึกษาใน ระบบขับถ่ายปัสสาวะ ซึ่งระบบดังกล่าวมีความส�าคัญ
เซลล์มะเร็งชนิดต่าง ๆ อีกด้วยและยังคงได้รับความ ต่อการรักษาสมดุลของเซลล์ในสิ่งมีชีวิตอย่างแท้จริง
สนใจมากขึ้นในปัจจุบัน ดังนั้น ผลการทดลองที่มีประสิทธิภาพดีในระดับเซลล์
ผลทางเภสัชวิทยาของพืชสมุนไพรสามารถ หรือแม้แต่ในสัตว์ทดลองที่มีสรีรวิทยาต่างจากมนุษย์
ศึกษาได้จากสารสกัดหยาบ (crude extract) และ ก็ยังไม่เพียงพอและสามารถยืนยันได้ว่าผลดังกล่าว
สารส�าคัญที่อยู่ในพืชชนิดนั้น (active ingredient) จะเห็นผลไปในทิศทางเดียวกันในมนุษย์ ซึ่งเป็นข้อ
และบทปริทัศน์นี้ได้เน้นผลของ active ingredient จ�ากัดของบทปริทัศน์นี้ ดังนั้นองค์ความรู้ที่ได้จากบท
เป็นส�าคัญ การใช้ active ingredient มาศึกษาท�าให้ ปริทัศน์นี้จึงสามารถใช้เป็นแนวทางในการต่อยอด
สามารถควบคุมปริมาณและความเข้มข้นได้อย่าง วางแผน และออกแบบการทดลอง รวมถึงประยุกต์
แม่นย�า รวมถึงได้แสดงให้เห็นอย่างประจักษ์ถึงฤทธิ์ ได้ในระดับคลินิกของผู้ป่วยมะเร็งได้ในอนาคต แม้ว่า
ของสารดังกล่าวต่อเซลล์มะเร็งหรือระบบสรีรวิทยา ผลของ AG ต่อการฆ่าเซลล์มะเร็งจะเริ่มมีการศึกษา
ของสิ่งมีชีวิตที่เกิดขึ้นอย่างแท้จริง นอกจากนี้ ยัง ในระดับคลินิกหรือผู้ป่วยมะเร็งมากขึ้นแต่ยังมีข้อ
สามารถศึกษาผลทางเภสัชจลนศาสตร์ได้อย่างถูก จ�ากัดและยังมีข้อมูลไม่มากเพียงพอที่จะสรุปในด้าน
ต้องและเป็นระบบ การศึกษาด้วย active ingredient ความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นในระดับความเป็นพิษต่อยีน
ท�าให้สามารถทราบความเข้มข้นที่น้อยที่สุดที่มีผลดี หรือการกลายพันธุ์ของยีนที่เกี่ยวข้องซึ่งยังคงต้องมี
และความเข้มข้นมากที่สุดที่ส่งผลเสียต่อเซลล์ได้อย่าง การศึกษาต่อไป
ชัดเจน บทปริทัศน์นี้จึงได้คัดเลือกเฉพาะงานวิจัยที่ใช้ อนึ่ง เมื่อกล่าวถึงกลไกออกฤทธิ์ส�าคัญของ AG
active ingredient จากฟ้าทะลายโจรเท่านั้น อย่างไร รวมถึงอนุพันธุ์ พบว่าสามารถมีผลต่อเซลล์มะเร็งได้
ก็ตาม เมื่อกล่าวถึงสรีรวิทยาของเซลล์สัตว์และมนุษย์ มากกว่า 1 กลไก ซึ่งอาจเป็นข้อดีส�าหรับการควบคุม
ซึ่งมีความละเอียดและซับซ้อน สมุนไพรบางชนิด อาทิ จ�านวนเซลล์มะเร็งได้อย่างมีประสิทธิภาพ
เช่น ไพล สมุนไพรดังกล่าวจะส่งผลดีต่อเซลล์ปอด ปัจจุบัน ประเทศไทยได้พยายามศึกษา ค้นคว้า
ในเรื่องการรักษาโรคหืดและภูมิแพ้ ถ้าให้สมุนไพร ทดลอง หรือสังเคราะห์สารเคมีโดยมีอนุพันธ์ของ AG
ในการศึกษาในรูป crude extract เท่านั้น แม้เราจะ เป็นส่วนประกอบ แต่ยังคงจ�ากัดอยู่ในระดับเซลล์
ทราบ active ingredient ทั้งหมดจากไพล แต่การ มะเร็งในหลอดทดลอง [61-65] การทดลองในมนุษย์ยัง
ออกฤทธิ์ที่ดีที่สุดอาจต้องอาศัยการท�างานร่วมกันของ คงด�าเนินไปอย่างต่อเนื่องในปัจจุบัน เพื่อให้ AG ซึ่ง
active ingredient ที่เป็นส่วนประกอบมากกว่าหนึ่ง เป็นสารออกฤทธิ์ส�าคัญของฟ้าทะลายโจรเป็นสารที่
ชนิด เป็นต้น มีคุณค่าต่อวงการแพทย์และสาธารณสุขและอาจเป็น
แม้บทปริทัศน์นี้ได้สรุปและชี้ให้เห็นถึง AG ส่วนหนึ่งที่ใช้ในการรักษาแบบผสมผสานกับยาแผน
ต่อการลดลงของจ�านวนหรือยับยั้งการเติบโตของ ปัจจุบันส�าหรับผู้ป่วยมะเร็งในอนาคตที่อาจได้รับภาวะ
เซลล์มะเร็ง แต่เป็นการศึกษานอกร่างกายของมนุษย์ แทรกซ้อนหรือผลกระทบจากการใช้ยาเคมีบ�าบัด
ซึ่งปราศจากการควบคุมจากระบบประสาท ระบบ