Page 253 - วารสารการแพทย์แผนไทย ปีที่ 21 ฉบับที่ 2
P. 253
J Thai Trad Alt Med Vol. 21 No. 2 May-Aug 2023 469
การศึกษาในเซลล์มะเร็งกระเพาะอาหาร เซลล์ โดยผ่านการควบคุมการสร้างโปรตีนที่เกี่ยวข้องกับ
มะเร็งปอด และเซลล์มะเร็งเต้านม พบว่า AG มี การกระตุ้นหรือการยับยั้งในกระบวนการดังกล่าวเช่น
ผลยับยั้งการยึดเกาะของเซลล์มะเร็งที่บริเวณอื่น nitric oxide (NO) vascular endothelial growth
อย่างมีนัยส�าคัญ โดยสามารถลดการแสดงออกและ factor (VEGF) IL-2 และ tissue inhibitor of me-
[57]
การท�างานของเอนไซม์ MMP-7 (Matrix metal- talloproteinases 1 (TIMP-1) เป็นต้น การศึกษา
loproteinase-7) และ MMP9 ซึ่งเป็นเอนไซม์ส�าคัญ ในเซลล์มะเร็งปอด NSCLC A549 ยังคงพบผลไปใน
ในกระบวนการเพิ่มจ�านวน การเคลื่อนที่ การแพร่ ทิศทางเดียวกันคือ AG สามารถลดการสร้างโปรตีน
[58]
กระจาย และการลุกลามของเซลล์มะเร็งไปยังต�าแหน่ง VEGF โดยผ่านการถ่ายทอดสัญญาณภายในเซลล์
อื่น โดยผ่านการยับยั้งสัญญาณภายในเซลล์คือ PI3K/ การทดลองฉีด AG ผ่านทางหน้าท้องของหนูทดลอง
AKT/AP-1 การศึกษาในเซลล์มะเร็งล�าไส้ใหญ่พบผล ที่ความเข้มข้น 5, 20 และ 100 มิลลิกรัมต่อน�้าหนัก
ของ AG ที่ความเข้มข้น 0.3-3 ไมโครโมลาร์ สามารถ ตัว สามารถลดการเจริญเติบโตของเซลล์มะเร็งเต้า
ลดการท�างานของ MMP2 ท�าให้สามารถป้องกันการ นมได้โดยยับยั้งการสร้างหลอดเลือดใหม่ ผลของ
[59]
ยึดเกาะของเซลล์มะเร็งที่บริเวณอื่นที่ไม่ใช่แหล่งต้น สารสังเคราะห์ที่มีอนุพันธ์ของ AG เช่น androgra-
ก�าเนิดอย่างมีนัยส�าคัญเช่นกัน [52-55] pholide analogue A5 ยังถูกน�ามาศึกษาในเซลล์
สารสังเคราะห์ที่มีอนุพันธ์ของ AG ได้แก่ หลอดเลือดด�าของสายสะดือ (HUVEC cells) พบว่า
15-benzylidene substitution derivatives of สามารถยับยั้งการเพิ่มจ�านวนของหลอดเลือดใหม่ได้
andrographolide ยังสามารถลดการเคลื่อนที่และ เช่นกัน [60]
การลุกลามของเซลล์มะเร็งกระเพาะอาหาร (SGC-
7901) เซลล์มะเร็งต่อมลูกหมากระยะเริ่มแพร่กระจาย บทวิจำรณ์
(PC-3) เซลล์มะเร็งถุงลมปอด (A549) เซลล์มะเร็ง การทบทวนวรรณกรรมนี้จัดเป็นฉบับแรกที่
ล�าไส้ใหญ่ (HT-29) และเซลล์มะเร็งหลอดอาหาร ได้สรุปถึงผลทางเภสัชวิทยาของสารออกฤทธิ์ส�าคัญ
(EC 109) ได้อย่างมีนัยส�าคัญโดยผ่านการลดการ แอนโดรกราโฟไลด์ (AG) จากพืชฟ้าทะลายโจรต่อ
แสดงออกของเอนไซม์ MMP จ�านวนหลายชนิด [56] บทบาทการรักษามะเร็ง โดยเนื้อหาในการทบทวน
6. การยับยั้งการสร้างหลอดเลือดใหม่ (anti- มุ่งเน้นสรุปผลการศึกษาที่ได้จากการทดลองระดับ
angiogenesis effects) เซลล์มะเร็งชนิดต่าง ๆ เป็นส่วนใหญ่รวมถึงในสัตว์
การสร้างหลอดเลือดใหม่เป็นกลไกส�าคัญในการ ทดลอง จัดได้ว่าบทปริทัศน์นี้เป็นการศึกษาวิจัยระดับ
เจริญเติบโตของเซลล์มะเร็งและได้กลายเป็นเป้าหมาย พรีคลินิก แม้ว่าสารส�าคัญออกฤทธิ์ในพืชชนิดนี้จะมี
ที่น่าสนใจในการรักษาโรคมะเร็งด้วยยา การศึกษาใน หลายชนิด พบว่า AG เป็นสารที่ถูกน�ามาศึกษามาก
หนูทดลองสีด�าชนิด C57BL/6 ที่มีเซลล์มะเร็งผิวหนัง ที่สุด ผลทางเภสัชวิทยาของ AG มักถูกมุ่งเน้นในเรื่อง
ชนิด B16-F10 พบว่า AG สามารถลดจ�านวนการ ผลการต้านอนุมูลอิสระ ลดการอักเสบและติดเชื้อ จาก
สร้างหลอดเลือดฝอยใหม่และยังสามารถยับยั้งการ การทบทวนวรรณกรรมในอดีต นอกจาก AG ที่ได้
สร้างหลอดเลือดใหม่ของเซลล์มะเร็งต้นก�าเนิดได้ สกัดจากพืชฟ้าทะลายโจรเพื่อน�ามาศึกษา การทดลอง