Page 220 - วารสารการแพทย์แผนไทย ปีที่ 21 ฉบับที่ 2
P. 220

436 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก      ปีที่ 21  ฉบับที่ 2  พฤษภาคม-สิงหาคม 2566




           ขนาดของโรงพยาบาล ความพร้อมทรัพยากร โดย      และการจัดบริการคลินิกกัญชาทางการแพทย์ โดยได้
           เฉพาะบุคลากร อัตราก�าลัง ความรู้ทักษะทัศนคติ  ประยุกต์กรอบแนวคิด 6 เสาหลักของระบบสุขภาพ

           ของบุคลากรทางการแพทย์ และปริมาณการผลิตของ   หรือ 6 building blocks ขององค์การอนามัยโลก
           ผลิตภัณฑ์กัญชาที่มีจ�ากัด รวมทั้งยังขาดงานวิจัยหรือ  ได้แก่ ระบบบริการ ก�าลังคน ระบบสารสนเทศ การ
                                        [6-7]
           หลักฐานทางการแพทย์ที่มีคุณภาพสูง  ซึ่งล้วนเป็น  เข้าถึงบริการ ทรัพยากรการเงิน และธรรมาภิบาล
           อุปสรรคในการการเข้าถึงการรักษาของผู้ป่วย    และใช้แบบจ�าลองความรู้ทัศนคติและพฤติกรรม
                ส�าหรับการให้บริการคลินิกกัญชาทางการแพทย์  (Knowledge-Attitude-Practice; KAP) เพื่อ
           ในจังหวัดน่าน คณะกรรมการแผนพัฒนาระบบบริการ  ท�าความเข้าใจปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อการจัดตั้ง

           สุขภาพ (Service plan) สาขากัญชาทางการแพทย์ได้  คลินิกกัญชาทางการแพทย์ เพื่อน�าผลการวิจัยไป
           เล็งเห็นความส�าคัญของการใช้ประโยชน์ส�าหรับผู้รับ  พัฒนาปรับปรุงการจัดตั้งและการจัดบริการคลินิกให้
           บริการ จึงก�าหนดนโยบายให้เปิดบริการคลินิกกัญชา  เป็นไปตามเป้าหมายที่วางไว้

           ทางการแพทย์ ให้ครบร้อยละ 100 ของโรงพยาบาล
           ทั่วไป และร้อยละ 80 โรงพยาบาลชุมชน ภายในปี              ระเบียบวิธีศึกษ�

           2564 จากการส�ารวจการจัดตั้งคลินิกกัญชาทางการ     การศึกษานี้เป็นการวิจัยเชิงพรรณนาแบบภาค
           แพทย์ในจังหวัดน่านพบว่า เครือข่ายโรงพยาบาล  ตัดขวาง (Cross-sectional descriptive research)
           รัฐมีปัญหาการจัดตั้งและการบริการ การสั่งจ่ายยา  ศึกษาตัวแปรอิสระ ได้แก่ ข้อมูลพื้นฐานคุณลักษณะ

           ผลิตภัณฑ์กัญชา                              สถานการณ์ความพร้อม ทัศนคติต่อการจัดบริการ
                ดังนั้นจึงได้สนใจท�าการศึกษาเพื่อน�าข้อมูล  คลินิกกัญชาทางการแพทย์ ตัวแปรตาม ได้แก่ การ

           ผลการศึกษาที่ได้เป็นแนวทางในการสนับสนุน     จัดตั้งคลินิกกัญชาทางการแพทย์ และการสั่งจ่าย
           สถานพยาบาลให้สามารถจัดตั้งและด�าเนินการรักษา   ผลิตภัณฑ์กัญชาทางการแพทย์
           ผู้ป่วยด้วยผลิตภัณฑ์กัญชาทางการแพทย์อย่างมี

           ประสิทธิผลต่อไป การศึกษาวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์  1. วัสดุ
           ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาการจัดบริการคลินิกกัญชาทางการ     1.1  ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง  คัดเลือกกลุ่ม
           แพทย์ในโรงพยาบาลรัฐ จังหวัดน่าน 2) เพื่อศึกษา  ตัวอย่างแบบเจาะจงจากประชากรบุคลากรทางการ

           การสั่งจ่ายผลิตภัณฑ์กัญชาในคลินิกกัญชาทางการ  แพทย์ที่รับผิดชอบคลินิกกัญชาทางการแพทย์ในโรง-
           แพทย์ 3) หาปัจจัยที่สัมพันธ์กับการจัดตั้งคลินิกกัญชา  พยาบาลรัฐ จังหวัดน่าน จากในโรงพยาบาลรัฐทั้งสิ้น
           ทางการแพทย์                                 15 แห่ง ประกอบด้วย ผู้อ�านวยการโรงพยาบาล แพทย์

                กรอบแนวคิดการศึกษานี้ ได้ศึกษาตัวแปร   ผู้รับผิดชอบคลินิกกัญชา ทันตแพทย์ แพทย์แผนไทย
           และปัจจัยต่าง ๆ ได้แก่ ข้อมูลพื้นฐานคุณลักษณะ  เภสัชกร นักจิตวิทยา พยาบาล รวมทั้งสิ้น 101 คน
                                                                                             [8]
           กลุ่มตัวอย่าง การรับรู้นโยบายกฎหมาย ความพร้อม   การหาขนาดของกลุ่มตัวอย่างผู้วิจัยใช้ตาราง เครจซี
           ทัศนคติ ความรู้เกี่ยวกับผลิตภัณกัญชาทางการแพทย์   และมอร์แกน (Krejcie& Morgan, 1970) ระดับ
   215   216   217   218   219   220   221   222   223   224   225