Page 219 - วารสารการแพทย์แผนไทย ปีที่ 21 ฉบับที่ 2
P. 219

J Thai Trad Alt Med                                   Vol. 21  No. 2  May-Aug  2023  435





               capacity of the service system, resulting in a small number of patients seeking medical cannabis treatment and
               inadequate empirical evidence. These factors affected physicians’ decisions to prescribe cannabis products.
                    Conclusion:  To support the establishment and effective operations of medical cannabis clinics, there is a
               need to develop positive attitudes and perspectives towards cannabis treatment. Additionally, there should be efforts
               to develop medical cannabis clinics by implementing a comprehensive health service plan. The implementation will
               help create a clear direction and objectives for the effective functioning of such clinics. Furthermore, it is essential
               to conduct clinical research on the effectiveness of medical cannabis products as evidence-based practices, which
               will contribute to building confidence in the products for treating patients.

                    Key words:  medical cannabis clinic, medical cannabis clinic service management, cannabis product prescription





                     บทนำ�และวัตถุประสงค์               นโยบาย ตามประกาศกระทรวงสาธารณสุข เมษายน

                 ปัจจุบันการใช้ประโยชน์จากสารสกัดกัญชา  2562 คือก�าหนดต�ารับยาเสพติดให้โทษในประเภท
            ทางการแพทย์เป็นที่ยอมรับมากขึ้น มีการอนุญาต  5 ที่มีกัญชาปรุงผสมอยู่ให้ใช้เพื่อรักษาโรคหรือการ

            ให้ขึ้นทะเบียน เพื่อใช้รักษาผู้ป่วยอย่างถูกกฎหมาย  ศึกษาวิจัยได้  ทั้งนี้ เพื่อให้บุคลากรทางการแพทย์
                                                                  [4]
            มากกว่า 30 ประเทศ  โดยมีหลักฐานเชิงประจักษ์ที่  ได้แก่ แพทย์แผนปัจจุบันและแพทย์แผนไทย ใน
                            [1]
            สนับสนุนว่า ผลิตภัณฑ์กัญชาทางการแพทย์ที่มีส่วน  สถานพยาบาลสามารถสั่งจ่ายผลิตภัณฑ์กัญชาในการ

            ผสมของสาร delta-9-Tetrahydrocannabinol      รักษาโรคตามข้อบ่งชี้ได้อย่างแพร่หลายมากขึ้น ทั้งนี้ มี
            (THC) และ cannabidiol (CBD) สามารถรักษาภาวะ  การสนับสนุนให้เข้าถึงผลิตภัณฑ์กัญชาทางการแพทย์
            ดังต่อไปนี้ได้อย่างมีประสิทธิผล ได้แก่ ภาวะคลื่นไส้  อย่างมีประสิทธิภาพโดยการเพิ่มหน่วยบริการส่งเสริม

            อาเจียนจากเคมีบ�าบัด (chemotherapy induced   ให้สถานพยาบาลของรัฐจัดตั้งคลินิกกัญชาทางการ
            nausea and vomiting) โรคลมชักที่รักษายาก และ  แพทย์ ได้แก่ โรง-พยาบาลศูนย์ โรงพยาบาลทั่วไป
            โรคลมชักที่ดื้อต่อยารักษา (intractable epilepsy)   โรงพยาบาลชุมชน และโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ

            ภาวะกล้ามเนื้อหดเกร็ง (spasticity) ในผู้ป่วยโรค  รวมทั้งในภาคเอกชน เพื่อให้ประชาชนได้เข้าถึงการ
            ปลอกประสาทเสื่อมแข็ง (multiple sclerosis) ภาวะ  รักษาโดยผลิตภัณฑ์กัญชาที่มีคุณภาพตามข้อบ่งชี้

            ปวดประสาท (neuropathic pain) ภาวะเบื่ออาหารใน  พร้อมทั้งเฝ้าระวังและรักษาอาการที่ไม่พึงประสงค์
            ผู้ป่วยเอดส์ที่มีน�้าหนักตัวน้อย และการเพิ่มคุณภาพ  จากผลิตภัณฑ์กัญชาอย่างเป็นระบบ ซึ่งก�ากับติดตาม
            ชีวิตในผู้ป่วยที่ได้รับการดูแลแบบประคับประคอง [2-3]  นโยบายดังกล่าวผ่านทางคณะกรรมการแผนพัฒนา

                 ส�าหรับในประเทศไทย กระทรวงสาธารณสุข    ระบบบริการสุขภาพ [5]
            ได้เล็งเห็นประโยชน์ของการใช้ผลิตภัณฑ์กัญชา ซึ่ง     อย่างไรก็ตาม การเปิดให้บริการคลินิกกัญชา

            สกัดจากช่อดอกกัญชา ที่ประกอบด้วยสารแคนนา-   ทางการแพทย์ในสถานพยาบาลของรัฐปัจจุบันยังไม่
            บินอยด์และเทอร์ปีน โดยเฉพาะทางด้านการแพทย์   สามารถจัดตั้งได้อย่างครอบคลุมตามเป้าหมายที่วาง
            โดยมีการปรับปรุงแก้ไขกฎหมายให้สอดคล้องกับ   ไว้ โดยอาจมีหลายปัจจัยที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ ศักยภาพ
   214   215   216   217   218   219   220   221   222   223   224