Page 155 - วารสารการแพทย์แผนไทย ปีที่ 21 ฉบับที่ 2
P. 155
J Thai Trad Alt Med Vol. 21 No. 2 May-Aug 2023 371
กระดาษทิชชู่ซับน�้าออก หยดด้วยน�้ายา glycerine ผลกำรศึกษำ
water 1-2 หยด และปิดทับด้วยกระจกปิดสไลด์ จาก
นั้นน�าสไลด์ตัวอย่างมาศึกษาลักษณะชิ้นส่วนเนื้อเยื่อ 1. ลักษณะทำงมหภำค
ภายใต้กล้องจุลทรรศน์ ส่วนของใบ สีน�้าตาลปนเขียว เนื้อใบบาง กรอบ
2.3 จัดท�าตัวอย่างเครื่องยาสมุนไพรอ้างอิง แตกหักง่าย ผิวค่อนข้างหยาบ ชิ้นของใบที่สมบูรณ์มี
(authentic crude drug) โดยน�าตัวอย่างใบที่อบ ลักษณะโคนใบสอบเรียว ขอบใบหยัก ปลายใบเรียว
แห้งแล้ว มาจัดเก็บใส่ขวด ติดป้ายชื่อ ออกหมายเลข แหลม มีส่วนของก้านใบค่อนข้างยาว และล�าต้นขนาด
และจัดเก็บส�าหรับใช้ในการอ้างอิง ซึ่งจะได้ตัวอย่าง เล็ก ยาวตรง ผิวค่อนข้างเรียบ มีร่องตื้น ๆ ตามยาว
เครื่องยาสมุนไพรอ้างอิง จ�านวน 1 ตัวอย่าง หมายเลข ตัวอย่างมีกลิ่นอ่อน รสขมเล็กน้อย (Figure 4)
DMSc crude drug No. 1166 เก็บรักษาที่ห้องปฏิบัติ
การเภสัชเวท สถาบันวิจัยสมุนไพร กรมวิทยาศาสตร์
การแพทย์
2.4 บันทึกผลด้วยการถ่ายภาพ โดยกล้อง
ถ่ายภาพที่ต่อกับกล้องจุลทรรศน์ พร้อมบันทึกราย
ละเอียดลักษณะโครงสร้างเนื้อเยื่อ ได้แก่ เนื้อเยื่อ
ภาคพื้นผิวใบด้านบน เนื้อเยื่อภาคพื้นผิวใบด้านล่าง
ภาคตัดตามขวางแผ่นใบ ภาคตัดตามขวางเส้นกลาง Figure 4 Crude drug of leaves and stem
ใบ ภาคตัดตามขวางก้านใบ และภาตัดตามขวางล�าต้น
2.5 บันทึกผลด้วยการวาดภาพภายใต้ 2. ลักษณะทำงจุลภำค
กล้องจุลทรรศน์ โดยใช้ชุดวาดภาพที่ต่ออยู่กับ 2.1 เนื้อเยื่อภาคพื้นผิวใบด้านบน (upper epi-
กล้องจุลทรรศน์ พร้อมบันทึกรายละเอียดลักษณะ dermis in surface view) ประกอบด้วย เนื้อเยื่อชั้น
โครงสร้างเนื้อเยื่อ ได้แก่ เนื้อเยื่อภาคพื้นผิวใบด้าน ผิว (epidermis) เป็นเซลล์ผนังหยัก บางส่วนพบเส้น
บน เนื้อเยื่อภาคพื้นผิวใบด้านล่าง ภาคตัดตามขวาง ใบหรือเส้นใบย่อยพาดผ่าน มีรูปร่างยาว ไม่พบปาก
แผ่นใบ ภาคตัดตามขวางเส้นกลางใบ ภาคตัดตาม ใบ (Figure 5-6)
ขวางก้านใบ ภาคตัดตามขวางล�าต้น และผงยา
2.6 น�าภาพที่วาดได้จากการวาดภาพภายใต้
กล้องจุลทรรศน์ มาวาดลงบนกระดาษไขลงลายเส้น
ด้วยปากกาเขียนแบบ เพื่อท�าให้ภาพมีความคมชัด
มากขึ้น
2.7 ประมวลผลข้อมูลลักษณะทางมหภาค และ
ลักษณะทางจุลภาค 100 micron (40x)
Figure 5 Line drawings of upper epidermis in surface view