Page 221 - J Trad Med 21-1-2566
P. 221

J Thai Trad Alt Med                                    Vol. 21  No. 1  Jan-Apr  2023  201




            นิย�มศัพท์                                   วิธีก�รรวบรวมข้อมูล

                            [9]
                 ภูมิแพ้ผิวหนัง  (atopic dermatitis/ atopic      การศึกษาแบบย้อนหลัง โดยทบทวนเวชระเบียน
            eczema) เป็นโรคผิวหนังอักเสบเรื้อรังที่เป็น ๆ หาย ๆ    ของผู้ป่วยที่ได้รับการวินิจฉัยโดยแพทย์แผนปัจจุบัน

            พบได้บ่อยในวัยเด็ก มีลักษณะทางคลินิกที่ส�าคัญ   ว่าเป็นผู้ป่วยโรคภูมิแพ้ผิวหนัง และได้รับต�ารับยา
            คือ มีผิวหนังอักเสบแบบ eczema ที่มีอาการคันมาก   เหงือกปลาหมอและพริกไทย ครั้งละ 2 แคปซูล ก่อน
            ผิวหนังแห้ง และมีการก�าเริบเป็นระยะ ๆ โดยสาเหตุ  อาหาร 3 เวลา (ขนาด 300 มิลลิกรัม/แคปซูล) จ�านวน

            ที่แท้จริงยังไม่ทราบแน่นอน อาจเป็นได้จากหลาย  ทั้งสิ้น 236 ราย และได้รับการรักษาด้วยยาต�ารับนี้
            สาเหตุร่วมกัน โดยมีพันธุกรรมเป็นตัวก�าหนดและสิ่ง  อย่างต่อเนื่องอย่างน้อย 2 ครั้ง จ�านวนทั้งสิ้น 78 ราย
            แวดล้อมเป็นตัวกระตุ้นให้เกิดอาการ           ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2555-2560 ที่โรงพยาบาลอู่ทอง จังหวัด

                 ความปลอดภัย  คือ ไม่พบอาการไม่พึงประสงค์  สุพรรณบุรี จ�านวนทั้งสิ้น 78 ราย ดังนั้น จึงท�าการ
            จากการใช้ยา เช่น หายใจล�าบาก หน้าบวม ปากบวม   รวบรวมและสรุปผลข้อมูลเชิงปริมาณในผู้ป่วยจ�านวน

            คลื่นไส้ อาเจียน ถ่ายเหลว                   ทั้งสิ้น 78 ราย
                 ผลการรักษาเบื้องต้น  คือ ผลการวิเคราะห์
            จากแบบประเมิน EASI score  ในผู้ป่วยโรคภูมิแพ้  ก�รวิเคร�ะห์ข้อมูล

            ผิวหนัง                                          ใช้สถิติเชิงพรรณนา แสดงความถี่และร้อยละ
                                                        ส�าหรับข้อมูลเชิงวิเคราะห์ วิเคราะห์ 2 หัวข้อ ได้แก่
                        ระเบียบวิธีศึกษ�                (1) ข้อมูลทั่วไปของผู้ป่วย (2) ความปลอดภัยและผล

                                                        การรักษาเบื้องต้นของยาต�ารับเหงือกปลาหมอและ
            วิธีก�รศึกษ�                                พริกไทย


                 การศึกษาแบบย้อนหลัง โดยทบทวนเวชระเบียน
            ของผู้ป่วยที่ได้รับการวินิจฉัยโดยแพทย์แผนปัจจุบัน         ผลก�รศึกษ�
            ว่าเป็นผู้ป่วยโรคภูมิแพ้ผิวหนัง และได้รับต�ารับยา

            เหงือกปลาหมอและพริกไทย ครั้งละ 2 แคปซูล ก่อน  ข้อมูลทั่วไปของผู้ป่วย
            อาหาร 3 เวลา (ขนาด 300 มิลลิกรัม / แคปซูล) อย่าง     จากเวชระเบียนผู้ป่วยโรคภูมิแพ้ผิวหนังที่ได้รับ
            ต่อเนื่องอย่างน้อย 2 ครั้ง ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2555-2560   การวินิจฉัยโดยแพทย์แผนปัจจุบันหรือแพทย์แผน

            ที่โรงพยาบาลอู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี  โดยใช้แบบ  ไทยและได้รับประทานต�ารับยาเหงือกปลาหมอและ
            ประเมิน EASI Score  เพื่อวิเคราะห์ผลการรักษา  พริกไทยทั้งหมด 236 ราย โดยมีผู้ป่วยภูมิแพ้ผิวหนัง

            เบื้องต้นและใช้แบบประเมิน Naranjo เพื่อวิเคราะห์  ได้รับการรักษาด้วยต�ารับยาเหงือกปลาหมอและพริก
            ผลความปลอดภัย                               ไทย อย่างน้อย 2 ครั้งจ�านวน 78 ราย
   216   217   218   219   220   221   222   223   224   225   226