Page 135 - J Trad Med 21-1-2566
P. 135

J Thai Trad Alt Med                                    Vol. 21  No. 1  Jan-Apr  2023  115




            ตารางที่ 11  จ�านวนและร้อยละของการเกิดอาการไม่พึงประสงค์ (n = 224)

                                                         ครั้งที่ 1    ครั้งที่ 2     ครั้งที่ 3
             อาการไม่พึงประสงค์
                                                      จ�านวน (ร้อยละ)  จ�านวน (ร้อยละ)  จ�านวน (ร้อยละ)
             ความร้ายแรงของอาการไม่พึงประสงค์
              1. ไม่ร้ายแรง                            6 (100.00)     3 (100.00)    1 (100.00)
                - ตาพร่า/วิงเวียน/อ่อนเพลีย/สับสน/คอแห้ง   3 (50.00)   3 (100.00)   1 (100.00)
                  - ปวดศีรษะรุนแรง                      2 (33.33)        -              -
                  - ปวดกล้ามเนื้อ                       1 (16.67)        -              -
              2. ร้ายแรง                                0 (0.00)       0 (0.00)      0 (0.00)

               อาการหลังหยุดใช้สารสกัดกัญชา
              1. อาการดีขึ้นอย่างชัดเจน                 2 (33.33)     2 (66.67)      0 (0.00)
              2. อาการไม่ดีขึ้น                         3 (50.00)      0 (0.00)      0 (0.00)
              3.  ไม่ทราบ                               1 (16.67)      1 (3.33)     1 (100.00)
             ผลลัพธ์ที่เกิดหลังเหตุการณ์ไม่พึงประสงค์
              1. หายเป็นปกติโดยไม่มีร่องรอยเดิม         2 (33.33)     3 (100.00)     0 (0.00)
              2. หายโดยมีร่องรอยเดิม                    0 (0.00)       0 (0.00)      0 (0.00)
              3. อาการดีขึ้นแต่ยังไม่หาย                1 (16.67)      0 (0.00)     1 (100.00)
              4. ยังมีอาการอยู่                         3 (50.00)      0 (0.00)      0 (0.00)
              5. ไม่สามารถติดตามผลได้                   0 (0.00)       0 (0.00)      0 (0.00)





                           อภิปรำยผล                    สั่งใช้ขนาดเริ่มต้น ครั้งละ 2 หยด วันละ 1 ครั้ง ก่อน


                 การศึกษาครั้งนี้เป็นการศึกษาติดตามลักษณะ  นอน ในการรับยาครั้งที่ 2 และครั้งที่ 3 ส่วนใหญ่ไม่มี
            การใช้และคุณภาพชีวิตของผู้ใช้น�้ามันกัญชาขมิ้น  การปรับขนาดยา ร้อยละ 73.21 และร้อยละ 81.7 ตาม
            ทองในผู้ป่วยรับบริการคลินิกกัญชาทางการแพทย์  ล�าดับ โดยผู้ป่วยที่มีการปรับขนาดยาในครั้งที่ 2 และ

            แผนไทยในสถานพยาบาล เขตสุขภาพที่ 8 เพื่อศึกษา  ครั้งที่ 3 ส่วนใหญ่เป็นการปรับขนาดรับประทานเพิ่ม
            ลักษณะการสั่งใช้น�้ามันกัญชาขมิ้นทอง คุณภาพ  เป็น ครั้งละ 3 หยด วันละ 1 ครั้ง ข้อบ่งใช้ที่มีการสั่ง
            ชีวิต และอาการไม่พึงประสงค์ของผู้ใช้น�้ามันกัญชา  ใช้มากที่สุด คือ อาการปวดไมเกรน (ลมปะกัง) ร้อยละ

            ขมิ้นทอง จ�านวน 224 คน จากการศึกษาพบว่าส่วน  46.88 รองลงมาคือ อาการปวด ร้อยละ 29.02 นอนไม่
            ใหญ่เป็นเพศหญิง อายุเฉลี่ย 55 ปี ส่วนใหญ่ไม่มีโรค  หลับ ร้อยละ 16.96 โรคสะเก็ดเงิน ร้อยละ 2.68 โรค
            ประจ�าตัว และหรือยาอื่นร่วมกับการใช้น�้ามันกัญชา   มะเร็ง ร้อยละ 2.23 โรคพาร์กินสัน (สันนิบาตลูกนก)

            มีลักษณะและรูปแบบการสั่งใช้น�้ามันกัญชาขมิ้นทอง  ร้อยละ 1.34 และกลุ่มอาการภูมิแพ้ ร้อยละ 0.89 ตาม
            ที่มีความเข้มข้นของสารสกัด THC 2 mg/ml โดยมี  ล�าดับ ส�าหรับความร่วมมือการใช้น�้ามันกัญชาขมิ้น
   130   131   132   133   134   135   136   137   138   139   140