Page 136 - J Trad Med 21-1-2566
P. 136
116 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ปีที่ 21 ฉบับที่ 1 มกราคม-เมษายน 2566
ทองในแต่ละครั้ง พบว่าผู้ป่วยส่วนใหญ่ให้ความร่วม คุณภาพชีวิต 5 มิติ และภาวะสุขภาพผลการวิจัย พบ
มือใช้ยาตามก�าหนดทุกครั้งหรือเกือบทุกครั้ง ร้อยละ ว่าคะแนนเฉลี่ยก่อนใช้น�้ามันกัญชาสูตรอาจารย์เดชา
91.07 ร้อยละ 88.84 และร้อยละ 89.29 ตามล�าดับ เท่ากับ 0.80 ± 0.19 และ 81.05 ± 16.54 คะแนน
ด้านคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยที่ใช้น�้ามันกัญชา ตามล�าดับ โดยหลังใช้น�้ามันกัญชาสูตรอาจารย์เดชา
ขมิ้นทองจากการประเมิน ESAS เปรียบเทียบอาการ ต่อเนื่อง 3 เดือน มีค่าเฉลี่ยคะแนนคุณภาพชีวิต 5
ของผู้ป่วยหลังได้รับยาทั้ง 9 อาการ ได้แก่ อาการ มิติ และภาวะสุขภาพเฉลี่ย เท่ากับ 0.86 ± 0.16 และ
ปวด อาการเหนื่อย/อ่อนเพลีย อาการคลื่นไส้ อาการ 88.19 ± 9.53 คะแนน เพิ่มขึ้นอย่างมีนัยส�าคัญทาง
ซึมเศร้า อาการวิตกกังวล อาการง่วงซึม อาการเบื่อ สถิติ (p < 0.05)
อาหาร ความสบายทั้งกายและใจ และอาการเหนื่อย จากการศึกษาด้านความปลอดภัยในการศึกษา
หอบ พบว่าผู้ป่วยมีอาการดีขึ้นในทุกอาการอย่างมีนัย ครั้งนี้ พบว่าผู้ป่วยส่วนใหญ่ไม่เกิดอาการไม่พึง
ส�าคัญทางสถิติ (p < 0.001) และเมื่อประเมินคุณภาพ ประสงค์ ร้อยละ 97.32, 98.66 และ 99.55 ในครั้งที่
ชีวิตด้านสุขภาพ 5 มิติ ได้แก่ การเคลื่อนไหว การดูแล 1, 2 และ 3 ตามล�าดับ ส�าหรับผู้ป่วยที่มีอาการไม่พึง
ตนเอง กิจกรรมที่ท�าเป็นประจ�า อาการเจ็บปวด/อาการ ประสงค์เป็นชนิดไม่ร้ายแรง อาการที่พบมากที่สุด 3
ไม่สบายตัว และความวิตกกังวล/ความซึมเศร้า จาก อันดับแรก ได้แก่ ตาพร่า/วิงเวียน/อ่อนเพลีย/สับสน/
แบบประเมิน EQ-5D-5L ในแต่ละครั้ง พบว่าส่วน คอแห้ง ปวดศีรษะ และปวดกล้ามเนื้อ ตามล�าดับ
ใหญ่ผู้ป่วยไม่มีปัญหาด้านสุขภาพในทั้ง 5 มิติ และเมื่อ โดยมีอาการไม่พึงประสงค์ในครั้งที่ 1 จ�านวน 6 คน
น�ามาหาค่าอรรถประโยชน์ พบว่าก่อนเริ่มการรักษามี ร้อยละ 2.68 ซึ่งส่วนใหญ่มีอาการไม่ดีขึ้นหลังหยุดใช้
ค่ามัธยฐานอรรถประโยชน์เท่ากับ 0.89 (0.79; 1.00) สารสกัดกัญชา ร้อยละ 50.00 และผลลัพธ์ที่เกิดอาการ
โดยหลังจากได้รับน�้ามันกัญชาขมิ้นทองเป็นระยะ เหตุการณ์ไม่พึงประสงค์ส่วนใหญ่ยังมีอาการอยู่ ร้อย
เวลา 1 เดือนและ 3 เดือนมีค่าอรรถประโยชน์เพิ่มขึ้น ละ 50.00 ส�าหรับครั้งที่ 2 พบอาการไม่พึงประสงค์
เป็น 0.94 (0.88; 1.00) อย่างมีนัยส�าคัญทางสถิติ (p จ�านวน 3 คน ส่วนใหญ่มีอาการดีขึ้นอย่างชัดเจนหลัง
< 0.001) นอกจากนี้เมื่อเปรียบเทียบสภาวะสุขภาพ หยุดใช้สารสกัดกัญชา ร้อยละ 66.67 โดยทั้งหมดหาย
ทางตรง (VAS) พบว่าก่อนการศึกษามีสภาวะสุขภาพ เป็นปกติโดยไม่มีร่องรอยเดิม และครั้งที่ 3 เกิดอาการ
ทางตรง เท่ากับ 73.28 ± 16.83 คะแนน และหลังจาก ไม่พึงประสงค์ จ�านวน 1 คน ซึ่งผลลัพธ์หลังเกิดอาการ
ได้รับน�้ามันกัญชาขมิ้นทองต่อเนื่อง 3 เดือน มีสภาวะ ไม่พึงประสงค์มีอาการดีขึ้นแต่ยังไม่หาย โดยมีอาการ
สุขภาพทางตรงเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยส�าคัญทางสถิติ ตาพร่า/วิงเวียน/อ่อนเพลีย/สับสน/คอแห้ง ปวดศีรษะ
(p < 0.001) ที่ 81.27 ± 12.57 คะแนน สอดคล้องกับ รุนแรง และปวดกล้ามเนื้อ สอดคล้องกับการศึกษา
[14]
[13]
การศึกษาของ กัญญาภัค ศิลารักษ์ ได้ท�าการศึกษา ของปิยวรรณ เหลืองจิรโณทัย และคณะ ท�าการ
ประสิทธิผลของน�้ามันกัญชาสูตรอาจารย์เดชาต่อ ศึกษาประสิทธิผลของสารสกัดกัญชา คลินิกกัญชา
คุณภาพการนอนหลับและคุณภาพชีวิตในผู้ป่วยนอก ทางการแพทย์ โรงพยาบาลล�าปาง พบผู้ป่วย 9 ราย
ณ คลินิกหางกระรอก โรงพยาบาลพระอาจารย์ฝั้น (ร้อยละ 10.6) โดยต้องหยุดยาจ�านวน 3 ราย เนื่องจาก
อาจาโร พบว่าคะแนนอรรถประโยชน์เฉลี่ยด้าน เกิดอาการ cannabis-induced psychosis 1 ราย,