Page 130 - J Trad Med 21-1-2566
P. 130

110 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก       ปีที่ 21  ฉบับที่ 1  มกราคม-เมษายน 2566




           ตารางที่ 4  ข้อมูลการปรับขนาดยาน�้ามันกัญชาขมิ้นทองทางการแพทย์แผนไทย (n = 224)

                ข้อมูลการปรับขนาดยาน�้ามันกัญชา
                                                 ครั้งที่ 1       ครั้งที่ 2       ครั้งที่ 3
                      ขมิ้นทองทางการแพทย์
                1. มีการปรับขนาดน�้ามันกัญชาขมิ้นทอง

                หรือไม่
                - ไม่มีการปรับ                 208 (92.86)      164 (73.21)      183 (81.70)
                - มีการปรับ                     16 (7.14)        60 (26.79)       41 (18.30)
                                               Median (IQR)     Median (IQR)     Median (IQR)

             2.  ขนาดรับประทานครั้งละ (หยด)   2.00 (0.50; 4.00)  3.00 (2.00; 4.00)  3.00 (3.00; 4.00)
                  วันละ (ครั้ง) 1.00 (0.50; 1.50)   1.00 (1.00; 2.00)  1.00 (1.00; 2.00)
             3.  ได้รับยาจ�านวน (ขวด)        1.00 (0.00; 1.00)  1.00 (1.00; 2.00)  1.00 (0.00; 1.00)



                ความร่วมมือในการใช้น�้ามันกัญชาขมิ้นทอง  ร้อยละ 91.07, 88.84 และ 89.29 ตามล�าดับ (ตาราง

           ทางการแพทย์แผนไทยของผู้ป่วย พบว่า ส่วนใหญ่ใน  ที่ 5)
           แต่ละครั้ง ใช้ตามที่ก�าหนดทุกครั้งหรือเกือบทุกครั้ง




           ตารางที่ 5  ข้อมูลความร่วมมือในการใช้น�้ามันกัญชาขมิ้นทองทางการแพทย์แผนไทย (n = 224)

                ข้อมูลความร่วมมือในใช้น�้ามันกัญชาขมิ้นทอง    ครั้งที่ 1   ครั้งที่ 2    ครั้งที่ 3
                            ทางการแพทย์                      (ร้อยละ)     (ร้อยละ)    (ร้อยละ)
             1.  ผู้ป่วยใช้น�้ามันกัญชาขมิ้นทองได้ครบตามที่ก�าหนดหรือไม่

                -  ใช้ตามที่ก�าหนดทุกครั้งหรือเกือบทุกครั้ง   204 (91.07)  199 (88.84)  200 (89.29)
                -  ลืมบ้างเป็นบางครั้ง (เฉลี่ย 2-3 ครั้งใน 10 ครั้ง)   19 (8.48)   22 (9.82)   21 (9.38)
                -  ลืมค่อนข้างบ่อย (เฉลี่ย 4-5 ครั้งใน 10 นาที)   0 (0.00)   1 (0.45)   1 (0.45)
                -  ไม่ค่อยได้ใช้ตามแพทย์สั่ง (ใช้น้อยกว่าครึ่งหนึ่งที่แพทย์สั่ง)   1 (0.45)   2 (0.89)   2 (0.89)




           คุณภำพชีวิตของผู้ป่วยที่ใช้น�้ำมันกัญชำขมิ้น  อ่อนเพลีย อาการคลื่นไส้ อาการซึมเศร้า อาการวิตก
           ทอง                                         กังวล อาการง่วงซึม อาการเบื่ออาหาร ความสบายดี


                การเปรียบเทียบอาการในด้านต่าง ๆ โดย    ทั้งกายและใจ และอาการเหนื่อยหอบในแต่ละครั้ง
           ใช้ Edmonton System Assessment System       พบว่าผู้ป่วยมีอาการดีขึ้นในทุกด้านอย่างมีนัยส�าคัญ
           (ESAS)                                      ทางสถิติ (p-value < 0.001) (ตารางที่ 6)

                เมื่อเปรียบเทียบอาการปวด อาการเหนื่อย/
   125   126   127   128   129   130   131   132   133   134   135