Page 131 - J Trad Med 21-1-2566
P. 131

J Thai Trad Alt Med                                    Vol. 21  No. 1  Jan-Apr  2023  111




            ตารางที่ 6  การเปรียบเทียบอาการโดยใช้ ESAS

                                    ครั้งที่ 1      ครั้งที่ 2      ครั้งที่ 3
                   อาการ            Median          Median          Median     Friedman   p-value
                                                                                   2
                                   (Q1; Q3)         (Q1; Q3)        (Q1; Q3)     X
             อาการปวด           6.00 (4.00; 7.00)  4.00 (2.00; 6.00)  3.00 (1.00; 4.00)  251.28   < 0.001*
             อาการเหนื่อย/      2.00 (1.00; 5.00)  1.00 (0.00; 3.00)  1.00 (0.00; 3.00)  168.46   < 0.001*
             อ่อนเพลีย
             อาการคลื่นไส้      1.00 (0.00; 1.00)  0.00 (0.00; 1.00)  0.00 (0.00; 1.00)  82.60   < 0.001*
             อาการซึมเศร้า      1.00 (0.00; 1.00)  0.00 (0.00; 1.00)  0.00 (0.00; 1.00)  105.79   < 0.001*
             วิตกกังวล          1.00 (0.00; 2.00)  1.00 (0.00; 1.00)  0.00 (0.00; 1.00)  122.58   < 0.001*
             อาการง่วงซึม/      1.00 (0.00; 4.00)  1.00 (0.00; 3.00)  1.00 (0.00; 2.00)  119.25   < 0.001*
             สะลึมสะลือ
             เบื่ออาหาร         1.00 (0.00; 2.00)  0.00 (0.00; 1.00)  0.00 (0.00; 1.00)  89.56   < 0.001*
             สบายทั้งกายและใจ   2.00 (1.00; 5.00)  1.00 (0.00; 3.00)  1.00 (0.00; 2.00)  137.54   < 0.001*
             อาการเหนื่อยหอบ    1.00 (0.00; 2.50)  1.00 (0.00; 2.00)  0.00 (0.00; 1.00)  89.40   < 0.001*
             ปัญหาอื่น ๆ        0.00 (0.00; 4.00)  0.00 (0.00; 3.00)  0.00 (0.00; 2.00)  53.23   < 0.001*


             *significant at 0.05 (Friedman test)






                 การประเมินผลคุณภาพชีวิตตามแบบมิติ      ตนเองโดยมีค่าเฉลี่ยในแต่ละครั้งของการรักษาเท่ากับ
            สุขภาพ 5 ด้าน EQ-5D-5L                      1.20, 1.19, 1.21 ตามล�าดับ ด้านกิจกรรมที่ท�าประจ�า
                 ในการประเมินมิติสุขภาพทั้ง 5 ด้าน ได้แก่ การ  วันส่วนใหญ่ ผู้ป่วยไม่มีปัญหาในการท�ากิจกรรมที่ท�า

            เคลื่อนไหว การดูแลตนเอง กิจกรรมที่ท�าเป็นประจ�า   เป็นประจ�า โดยมีค่าเฉลี่ยในแต่ละครั้งของการรักษา
            (เช่น ท�างาน เรียนหนังสือ ท�างานบ้าน กิจกรรมใน  เท่ากับ 1.42, 1.36, 1.36 ตามล�าดับ ด้านความเจ็บ

            ครอบครัว หรือกิจกรรมยามว่าง) อาการเจ็บปวด/  ปวดและอาการไม่สบายตัวส่วนใหญ่ไม่มีอาการเจ็บ
            อาการไม่สบายตัว และความวิตกกังวล/ความซึมเศร้า   ปวดหรืออาการไม่สบายตัวโดยมีค่าเฉลี่ยในแต่ละครั้ง
            ตาม EQ-5D-5L พบว่าคะแนนสุขภาพทั้ง 5 ด้านมีค่า  ของการรักษาเท่ากับ 2.22, 1.83, 1.71 ตามล�าดับ และ

            ลดลงหลังจากได้รับน�้ามันกัญชาขมิ้นทอง ดังนี้ ด้าน  ด้านความวิตกกังวล ความซึมเศร้า พบว่าส่วนใหญ่
            การเคลื่อนไหวส่วนใหญ่ผู้ป่วยไม่มีปัญหาในการเดิน  ไม่รู้สึกวิตกกังวลหรือซึมเศร้าโดยมีค่าเฉลี่ยในแต่ละ
            โดยมีค่าเฉลี่ยในแต่ละครั้งของการรักษาเท่ากับ 1.46,   ครั้งของการรักษาเท่ากับ 1.44, 1.29 และ 1.23 ตาม

            1.33, 1.33 ตามล�าดับ, ด้านการดูแลตัวเองส่วนใหญ่   ล�าดับ (ตารางที่ 7)
            ผู้ป่วยไม่มีปัญหาในการอาบน�้าหรือใส่เสื้อผ้าด้วย
   126   127   128   129   130   131   132   133   134   135   136