Page 127 - J Trad Med 21-1-2566
P. 127
J Thai Trad Alt Med Vol. 21 No. 1 Jan-Apr 2023 107
ทั้งหมด 9 อาการ ประกอบด้วย อาการปวด อาการ ที่สุด ค�าตอบที่ได้จากส่วนนี้จะน�าไปค�านวณคะแนน
เหนื่อย/อ่อนเพลีย อาการคลื่นไส้ อาการซึมเศร้า อรรถประโยชน์ 2) แบบประเมินสภาวะสุขภาพทาง
อาการวิตกกังวล อาการง่วงซึม อาการเบื่ออาหาร ตรง Visual Analog Scale (VAS) ส�าหรับให้ผู้ตอบ
ความสบายทั้งกายและใจ และอาการเหนื่อยหอบ ให้คะแนนสุขภาพตนเอง โดย VAS มีลักษณะเป็นเส้น
โดยแต่ละอาการจะถูกวัดด้วย Visual Numeric คล้ายไม้บรรทัด มีตัวเลขตั้งแต่ 0 ถึง 100 โดย 0 หมาย
Scales (VNS) ตั้งแต่ 0-10 โดยเลข 0 หมายถึง ไม่มี ถึงสุขภาพที่แย่ที่สุด 100 หมายถึงสุขภาพที่ดีที่สุด
อาการ และเลข 10 หมายถึง มีอาการมากที่สุด และ ส่วนที่ 4 แบบสอบถามติดตามอาการอันไม่พึง
ในข้อความสบายดีทั้งกายและใจ (well-being) เลข ประสงค์ของผู้เข้าร่วมวิจัย (case record form) [12]
0 หมายถึง ผู้ป่วยรู้สึกสบายดีทั้งกายและใจ และเลข ประกอบด้วย 2 ส่วน คือการประเมินผลกระ
10 หมายถึง ผู้ป่วยรู้สึกไม่สบายทั้งกายและใจ โดย ทบจากการใช้ยาน�้ามันกัญชาขมิ้นทองทางด้านอาการ
ให้ผู้เข้าร่วมวิจัยเป็นผู้ประเมินเพื่อระบุถึงสุขภาพของ จิตใจในผู้ป่วย และประเมินอาการไม่พึงประสงค์จาก
ตนเอง ค่าที่ได้น�าไปใช้ค�านวณคะแนนอรรถประโยชน์ การใช้ยาน�้ามันกัญชาขมิ้นทอง ผู้ป่วยเกิดอาการไม่พึง
การค�านวณค่าอรรถประโยชน์ใช้ตารางคะแนน ประสงค์ อาการไม่พึงประสงค์อื่น ๆ ที่พบ ความร้าย
อรรถประโยชน์ที่เฉพาะเจาะจงกับประเทศไทยในการ แรงของอาการไม่พึงประสงค์ อาการหลังหยุดใช้สาร
แปลงสถานะสุขภาพให้เป็นคะแนนอรรถประโยชน์ สกัดกัญชา ผลลัพธ์ที่เกิดหลังเหตุการณ์ไม่พึงประสงค์
ค�านวณจากสภาวะสุขภาพแข็งแรงสมบูรณ์หักลบด้วย จากการใช้น�้ามันกัญชาขมิ้นทอง
ค่าสัมประสิทธิ์ของแต่ละมิติทางสุขภาพทั้ง 5 ด้าน ซึ่ง
จะได้ค่าคะแนนอรรถประโยชน์ตั้งแต่ -1 ถึง 1 โดย 2. วิธีกำรศึกษำ
1 หมายถึง สุขภาพแข็งแรงสมบูรณ์ที่สุด 0 หมายถึง 2.1 การเก็บรวบรวมข้อมูล
สุขภาพที่แย่ที่สุดหรือเสียชีวิตส่วนค่าอรรถประโยชน์ เก็บรวบรวมข้อมูลจากโปรแกรมเก็บข้อมูลการ
ที่ติดลบหมายถึงสภาวะที่แย่กว่าตาย (worse than ใช้น�้ามันกัญชาขมิ้นทอง ระบบออนไลน์ (R8COT) ที่
dead) ถูกพัฒนาขึ้นเพื่อใช้บันทึกข้อมูลการใช้น�้ามันกัญชา
ส่วนที่ 3 แบบสอบถาม EQ-5D-5L (ฉบับภาษา ขมิ้นทองของผู้ป่วยในเขตสุขภาพที่ 8 โดยจะบันทึก
ไทย) [11] ข้อมูลผู้ป่วยที่ได้รับน�้ามันกัญชา จ�านวนทั้งหมด 3
เป็นเครื่องมือประเมินคุณภาพชีวิตส�าหรับ ครั้ง แบ่งออกเป็น ครั้งที่ 1 คือก่อนเริ่มการรักษาด้วย
ประเทศไทย ประกอบด้วยค�าถาม 2 ส่วน ได้แก่ น�้ามันกัญชาขมิ้นทอง ครั้งที่ 2 หลังจากผู้ป่วยได้รับ
1) ค�าถามด้านสุขภาพ 5 มิติ ได้แก่ การเคลื่อนไหว น�้ามันกัญชาขมิ้นทองเป็นเวลา 1 เดือน และครั้งที่ 3
การดูแลตนเอง กิจกรรมที่ท�าเป็นประจ�า อาการเจ็บ หลังจากผู้ป่วยได้รับน�้ามันกัญชาขมิ้นทองเป็นเวลา 3
ปวด/อาการไม่สบายตัว และความวิตกกังวล/ความซึม เดือน
เศร้า แต่ละด้านค�าตอบแบ่งออกเป็น 5 ระดับ เรียงตาม 2.2 การวิเคราะห์ข้อมูล
ระดับความรุนแรงตั้งแต่ระดับ 1-5 โดยระดับ 1 หมาย น�าข้อมูลที่ได้ไปวิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิง
ถึง ไม่มีปัญหา จนถึงระดับ 5 หมายถึง มีปัญหามาก พรรณนา ประกอบด้วย ข้อมูลทั่วไป และบันทึกข้อมูล