Page 125 - J Trad Med 21-1-2566
P. 125

J Thai Trad Alt Med                                    Vol. 21  No. 1  Jan-Apr  2023  105




                 ดังนั้น การศึกษานี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา  อาจาโร ในสถานพยาบาลของเขตสุขภาพที่ 8 ระหว่าง
            ติดตามลักษณะการใช้น�้ามันกัญชาขมิ้นทอง และ  วันที่ 1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2564 ถึงวันที่ 31 ตุลาคม

            ประเมินคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยที่ใช้น�้ามันกัญชาขมิ้น  พ.ศ. 2565 จ�านวน 500 คน
            ทองทางการแพทย์แผนไทย ในส่วนของคุณภาพชีวิต        การค�านวณขนาดกลุ่มตัวอย่างจากการประมาณ
            ของผู้ป่วยจะมีการประเมินทั้งมิติด้านร่างกายและ  ค่าสัดส่วนกรณีประชากรขนาดใหญ่ จากสูตร [9]

            จิตใจ โดยอาการส�าคัญที่ส่งผลให้ผู้ป่วยเกิดความทุกข์                  (NZ 2 a/2  P(1-P)
            ทรมานและส่งผลต่อการใช้ชีวิตประจ�าวันของผู้ป่วยที่       n   =  2   2 a/2

                                                                   (d  (N-1) + Z  P (1-P)
            พบบ่อย ได้แก่ อาการปวด หายใจล�าบาก เบื่ออาหาร      Z   =  ความเชื่อมั่นที่ก�าหนด (1.96)
                                                              a/2
            อ่อนเพลีย เหนื่อยล้า นอนไม่หลับ สับสน ซึมเศร้า          P   =  สัดส่วนอัตรา (0.86) จากข้อมูลการใช้
            วิตกกังวล และหมดหวังในชีวิต หากผลการศึกษาพบ  ในผู้ป่วยของโรงพยาบาลห้วยเกิ้ง
            ว่าน�้ามันกัญชาขมิ้นทองทางการแพทย์แผนไทยท�าให้     d   =  ระดับความแม่นย�า (0.05)

            คุณภาพชีวิตของผู้ป่วยดีขึ้น ผู้วิจัยจะน�าผลการศึกษา     N   =  จ�านวนประชากร (12,600) จ�กก�ร
            ไปอภิปรายและยืนยันประสิทธิผลและความปลอดภัย  สำ�รวจผู้ป่วยของเขตสุขภ�พที่ 8

            เบื้องต้นของน�้ามันกัญชาขมิ้นทอง เพื่อประกอบการ     เมื่อค�านวณกลุ่มตัวอย่างจากประชากรจ�านวน
            ศึกษาวิจัยประสิทธิผลของน�้ามันกัญชาขมิ้นทองทาง  12,600 คน และใช้ค่าสัดส่วนอัตรา (P) เท่ากับ 0.86
            คลินิกต่อไป                                 โดยก�าหนดค่าความเชื่อมั่น (Z a/2) เท่ากับ 1.96 และ

                                                        ก�าหนดระดับความแม่นย�า (d) เท่ากับ 0.05 ได้จ�านวน
                        ระเบียบวิธีศึกษำ
                                                        กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยจ�านวน 183 ราย และเพื่อ

                 การวิจัยนี้เป็นการวิจัยแบบกึ่งทดลอง (Quasi-  ป้องกันการสูญหายของข้อมูลร้อยละ 20 ดังนั้นควรมี
            experimental research design) โดยศึกษา      ตัวอย่างอย่างน้อย 220 ราย โดยในการวิจัยในครั้งนี้
            ลักษณะการใช้และคุณภาพชีวิตของผู้ใช้น�้ามันกัญชา  ผู้วิจัยใช้กลุ่มตัวอย่างผู้รับน�้ามันกัญชาขมิ้นทองทั้งสิ้น

            ขมิ้นทองในผู้ป่วยรับบริการคลินิกกัญชาทางการ  จ�านวน 224 คน
            แพทย์แผนไทยในสถานพยาบาล เขตสุขภาพที่ 8           1.1.1  เกณฑ์การคัดเข้า
            จ�านวน 32 แห่ง ระหว่างวันที่ 1 พฤศจิกายน 2564–31          1)  เพศชาย หรือหญิง

            ตุลาคม 2565 โดยการศึกษานี้ได้รับการอนุมัติจาก         2)  อายุตั้งแต่ 20 ปี ขึ้นไป
            คณะกรรมการจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ส�านักงาน          3)  เป็นผู้ป่วยที่มีความต้องการใช้สูตรยา
            สาธารณสุขจังหวัดอุดรธานี เลขที่รับรอง UDREC   ที่มีน�้ามันกัญชาและขมิ้นชันเป็นส่วนผสมและได้ยิน

            0364                                        ยอมเป็นผู้เข้าร่วมวิจัยได้การวิจัย
                                                                 4)  เป็นผู้ป่วยที่มีอาการหรือเป็นโรคดัง
            1.1 ประชำกรและกลุ่มตัวอย่ำง
                                                        ต่อไปนี้ มะเร็ง สะเก็ดเงิน สันนิบาตลูกนก (พาร์กิน
                 ประชากร คือ ผู้ป่วยที่ได้รับการรักษาด้วยน�้ามัน  สัน) เบื่ออาหาร ภูมิแพ้ ลมปะกัง (ไมเกรน) ปวดเรื้อรัง
            กัญชาขมิ้นทองที่ผลิตโดยโรงพยาบาลพระอาจารย์ฝั้น   นอนไม่หลับ ที่ได้รับน�้ามันกัญชาขมิ้นทอง
   120   121   122   123   124   125   126   127   128   129   130