Page 198 - วารสารการแพทย์แผนไทย ปีที่ 20 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2565
P. 198

396 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก      ปีที่ 20  ฉบับที่ 2  พฤษภาคม-สิงหาคม 2565




           ส่งเสริมการใช้ประโยชน์จากระบบนิเวศทางบก จัดการ  เข้าถึงศาสตร์การแพทย์พื้นบ้านแก่ประชาชน ส่งเสริม
           ป่าไม้อย่างยั่งยืน การบริหารจัดการ อนุรักษ์และฟื้นฟู  การสื่อสารระหว่างแพทย์แผนปัจจุบัน แพทย์แผนไทย

           ป่าไม้ทุกประเภท และการเพิ่มขีดความสามารถของ  หมอพื้นบ้าน เพื่อให้ประชาชนได้รับข้อมูลข่าวสารที่
           ชุมชนท้องถิ่นในการอนุรักษ์ ประเทศไทยจึงพัฒนา  เกี่ยวข้องกับสุขภาพอย่างถูกต้อง ส่วนการแก้ปัญหา
           อย่างยั่งยืน                                เศรษฐกิจ ควรส่งเสริมการตั้งกองทุนส�ารอง หรือส่ง

                ด้วยอุปสรรคต่าง ๆ หมอพื้นบ้านจึงต้องปรับตัว  เสริมรายได้ให้แก่หมอพื้นบ้าน และด้านสมุนไพรที่
           หลายประการ โดยเฉพาะการใช้เทคโนโลยีด้านการ   ขาดแคลน ควรส่งเสริมให้ทุกภาคส่วนมีส่วนร่วม
           สื่อสารและการขนส่งเพื่อท�าให้ตนเองยังคงมีบทบาท  ในการอนุรักษ์ป่าไม้ในพื้นที่ โดยเฉพาะพืชพรรณ

           และท�าหน้าที่รักษาผู้ป่วยได้ในสังคมที่เปลี่ยนแปลง   สมุนไพรที่ใช้รักษาโรคได้ อีกบาทหนึ่งคือหมอพื้น
                                               [15]
           สอดคล้องกับ งานวิจัยของนุชเนตร พิมพ์ชนก  ที่  บ้านคือการเป็นครูแพทย์พื้นบ้าน ที่เป็นหัวใจหลักของ
           พบว่า การเรียนรู้และการปรับพฤติกรรมของมนุษย์  การสืบสานองค์ความรู้ แต่ด้วยปัญหาการขาดแคลน

           เกี่ยวสัมพันธ์สภาพแวดล้อมนั้น ๆ ตลอดเวลา โดย  ผู้สืบทอดองค์ความรู้ ท�าให้การด�ารงอยู่ของหมอพื้น
           ปัจจุบันการแพทย์ทางไกลสร้างโอกาสต่อการเข้าถึง  บ้านในด้านนี้มีแนวโน้มลดลง ดังนั้นหากจะพัฒนาการ

           การดูแลสุขภาพทุกศาสตร์ ดังนั้นความรู้และทักษะ  สืบทอดองค์ความรู้ หน่วยงานที่เกี่ยวข้องควรส่ง
           ด้านนี้ จึงต้องได้รับการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง  เสริมการจัดการเรียนการสอนอย่างเป็นระบบให้แก่
                                                       ครูแพทย์พื้นบ้าน เพื่อพัฒนาหลักสูตร รูปแบบและ
                           ข้อสรุป                     วิธีการสอน ให้ตอบสนองความต้องการของผู้เรียน

                หมอพื้นบ้านในจังหวัดเชียงรายยังคงด�ารง  ในปัจจุบัน ส่วนผลกระทบด้านเทคโนโลยีกลับพบว่า

           บทบาทการประกอบวิชาชีพเพื่อรักษาสุขภาพของ    หมอพื้นบ้านปรับตัวได้ดี โดยเฉพาะการใช้เทคโนโลยี
           คนในชุมชนอย่างต่อเนื่อง โดยข้อค้นพบที่ส�าคัญ  เข้ามาช่วยเรื่องการสื่อสารกับผู้ป่วยและการขนส่งซื้อ
           พบว่า ปัจจัยภายในบุคคลด้านพฤติกรรมมีความ    ขายยาสมุนไพร ท�าให้รูปแบบการดูแลสุขภาพด้วย

           เกี่ยวข้องกับการด�ารงอยู่ของหมอพื้นบ้าน กล่าว  ศาสตร์การแพทย์พื้นบ้านเปลี่ยนแปลงไป การส่งเสริม
           คือ หมอพื้นบ้านมีการรับรู้ความสามารถของตนเอง  ความรู้และทักษะการใช้เทคโนโลยีแก่หมอพื้นบ้าน
           ระดับสูง อันถูกพัฒนาจากการสั่งสมประสบการณ์  โดยเฉพาะการแพทย์ทางไกล (telemedicine) จะ

           ที่ยาวนาน และยึดมั่นในคุณธรรมต้นแบบ อีกทั้ง  เป็นส่วนหนึ่งที่ส่งเสริมให้หมอพื้นบ้านด�ารงอยู่ในยุค
           ปรารถนาต้องการให้ผู้ป่วยและญาติมีสุขภาพดี จึง  โลกาภิวัตน์ได้อย่างกลมกลืนในสังคมไทยดียิ่งขึ้น
           ขับเคลื่อนหมอพื้นบ้านให้ยังคงด�ารงการประกอบ     ข้อเสนอแนะในการท�าวิจัยครั้งต่อไป ควรศึกษา

           วิชาชีพอยู่ได้ แต่เนื่องด้วยการลดลงของผู้ป่วย ผล   การด�ารงอยู่ของหมอพื้นบ้าน ในแง่ปรากฎการณ์
           กระทบจากเศรษฐกิจ สมุนไพรที่หายากขึ้น ท�าให้   ทางสังคมที่เกี่ยวข้อง บริบทและเงื่อนไขการด�ารงอยู่

           แนวโน้มการด�ารงอยู่ของหมอพื้นบ้านลดลง หน่วยงาน   ตลอดจนศึกษาเปรียบเทียบการด�ารงอยู่ของหมอพื้น
           ที่เกี่ยวข้องควรส่งเสริมปัจจัยเหล่านี้ ทั้งระดับนโยบาย  บ้านในขนาดประชากรที่ใหญ่ขึ้นและในพื้นที่อื่น ๆ ต่อ
           และระดับปฏิบัติการที่สามารถสร้างความเชื่อมั่นและ  ไปด้วย
   193   194   195   196   197   198   199   200   201   202   203