Page 126 - วารสารการแพทย์แผนไทย ปีที่ 20 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2565
P. 126

324 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก      ปีที่ 20  ฉบับที่ 2  พฤษภาคม-สิงหาคม 2565




           เภสัชศาสตร์ และหน่วยงานนั้นได้รับใบอนุญาตจาก   ปลูกกัญชา และการศึกษามุมมองกลุ่มเกษตรกรที่
           ส�านักงานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) ปลูก    ต้องการรวมกลุ่มวิสาหกิจชุมชนเพื่อปลูกกัญชา ซึ่งผล

                  [5]
           กัญชาได้  ต่อมาในปี พ.ศ. 2565 จ�านวนของวิสาหกิจ  การวิจัยจะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนานโนบายกัญชา
           ชุมชนได้เข้าร่วมปลูกกัญชามากขึ้นและแปรรูปเป็น  เสรีทางการแพทย์ในระยะต่อไป
           สินค้าด้านสุขภาพและยา โดยมีกลุ่มวิสาหกิจชุมชน

                                            [6]
           ที่ได้รับอนุญาตปลูกกัญชาจ�านวน 111 แห่ง  (ข้อมูล        ระเบียบวิธีศึกษ�
           วันที่ 20 เมษายน 2565)                          การวิจัยครั้งนี้ใช้วิธีการวิจัยเชิงคุณภาพ ได้แก่
                กลุ่มวิสาหกิจชุมชนเป็นหน่วยธุรกิจขนาดเล็ก  การวิจัยเอกสาร และการสัมภาษณ์ โดยการวิจัย

           ที่รัฐบาลให้ความส�าคัญ เพราะ เป็นหน่วยกระตุ้น  เอกสารผู้วิจัยทบทวนเอกสารจากฐานข้อมูลออนไลน์
                               [7]
           เศรษฐกิจในระดับฐานราก  แต่กลุ่มธุรกิจขนาดเล็ก  ได้แก่ ThaiJo โดยก�าหนดหลักเกณฑ์ ได้แก่ การค้นหา
                                              [8]
           ย่อมเผชิญกับปัญหาการปฏิบัติแบบขาดความรู้  ภาย  ค�าส�าคัญ คือ กัญชา กัญชาและวิสาหกิจชุมชน นโยบาย
           ใต้การขับเคลื่อนนโยบายกัญชาเสรีทางการแพทย์ได้  กัญชา และเอกสารต้องถูกจัดท�าในช่วงปี พ.ศ. 2559-
           สร้างความกังวลให้กับกลุ่มผู้ที่ต้องการปลูกกัญชา   2564 (ค.ศ. 2016-2021) โดยพบเอกสารที่ผ่านการคัด

           เช่น ขั้นตอนการรวมกลุ่ม การบริหารกลุ่ม การท�าข้อ  กรองจ�านวน 186 รายการ ส�าหรับการสัมภาษณ์ผู้วิจัย
           ตกลงกับหน่วยงานที่ได้รับการอนุญาตเพื่อปลูกกัญชา  จะสัมภาษณ์ผู้ให้ข้อมูลหลักทั้ง 2 กลุ่ม ได้แก่
           ผลผลิตที่อาจไม่มีคุณภาพน�าไปท�าสารสกัดเพื่อการ     1.  กลุ่มวิสาหกิจชุมชนที่ได้รับอนุญาตปลูก

           รักษา สอดคล้องกับรายงานการวิจัยติดตามประเมิน  กัญชา ผู้วิจัยก�าหนดวิธีการคัดเลือก ได้แก่ ที่ตั้งของ
           ผลนโยบายกัญชาในจังหวัดหนองคาย  รายงานว่า    วิสาหกิจชุมชนต้องอยู่ในเขตกรุงเทพมหานคร และ
                                         [9]
           ปัญหา และข้อจ�ากัดในการปลูกกัญชา คือ นโยบาย  นนทบุรี เนื่องจากในช่วงระยะเวลาการวิจัยอยู่ภายใต้
           กัญชาไม่เปิดโอกาสให้ชาวบ้านปลูกกัญชาเพื่อใช้เป็น  มาตรการควบคุมการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัส
           พืชเศรษฐกิจ การขาดการประชาสัมพันธ์อย่างต่อเนื่อง    โคโรนา 2019 (COVID-19), ข้อจ�ากัดด้านงบประมาณ

           การไม่มีหน่วยงานผู้รับผิดชอบหลัก จะเห็นได้ว่า  การวิจัย,  วิสาหกิจชุมชนต้องได้รับการอนุญาต
           ปัญหาและข้อกังวลของกลุ่มวิสาหกิจชุมชนย่อมส่ง  ผลิต (ปลูก) จากกองควบคุมวัตถุเสพติด ส�านักงาน
                                                                                             [6]
           ผลกระทบต่อความส�าเร็จในการขับคเลื่อนนโยบาย  คณะกรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณสุข
           กัญชาเสรีทางการแพทย์                        วิสาหกิจชุมชนต้องร่วมมือกับหน่วยงานภาครัฐ และ
                การวิจัยนี้เกิดขึ้นจากค�าถามการวิจัยว่ามุมมอง  ต้องยินยอมให้สัมภาษณ์ ผลการคัดเลือกท�าให้ได้
           ของกลุ่มวิสาหกิจชุมชนที่ได้รับอนุญาตปลูกกัญชา   วิสาหกิจชุมชนเกษตรในเมือง (กรุงเทพมหานคร) เป็น

           และกลุ่มเกษตรกรที่ต้องการรวมกลุ่มวิสาหกิจชุมชน  พื้นที่การวิจัย (ข้อมูล ณ วันที่ 1 สิงหาคม 2564) โดยมี
           เพื่อปลูกกัญชามีมุมมองต่อนโยบายกัญชาเสรีทางการ  ผู้ให้ข้อมูลหลักเป็นสมาชิกกลุ่มวิสาหกิจชุมชนจ�านวน

           แพทย์เป็นอย่างไร โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษา  5 คน
           พัฒนาการของนโยบายกัญชาเสรีทางการแพทย์ การ       2.  กลุ่มเกษตรกรที่ต้องการรวมกลุ่มวิสาหกิจ
           ศึกษามุมมองของกลุ่มวิสาหกิจชุมชนที่ได้รับอนุญาต  ชุมชนเพื่อปลูกกัญชา ผู้วิจัยก�าหนดวิธีการคัดเลือก
   121   122   123   124   125   126   127   128   129   130   131