Page 117 - วารสารการแพทย์แผนไทย ปีที่ 20 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2565
P. 117

J Thai Trad Alt Med                                   Vol. 20  No. 2  May-Aug  2022  315




            วิเครำะห์ข้อมูล                             ตารางที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของกลุ่มตัวอย่าง

                 วิเคราะห์ข้อมูล โดยใช้สถิติเชิงพรรณนา คือ     ลักษณะทางประชากร   จำานวน  ร้อยละ

            ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน โดยมี                   (n = 370)
                                                        เพศ
            ค�าตอบให้เลือก 5 ค�าตอบ (Likert scale) เกณฑ์การ
                                                          ชาย                    138     37.30
            แปลผลตามแนวคิดของเบส์ (Best John W, 1977)        หญิง                232     62.70
                                                  [10]
            แบ่งเป็น 3 ระดับคือ มีการรับรู้หรือมีการยอมรับใน  อายุ (ปี)
            ระดับสูง คะแนนระหว่าง 3.67–5.00, ระดับปานกลาง     น้อยกว่า 36         29      7.84

            คะแนนระหว่าง 2.34–3.66  และระดับต�่า คะแนน    36 – 45                106     28.65
                                                          46 – 55                 74      20.0
            ระหว่าง 1.00–2.33 และหาความสัมพันธ์ระหว่าง    56 – 65                137     37.03
            ตัวแปร ด้วยการทดสอบค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์    65 ปีขึ้นไป           24      6.49

            แบบสเปียร์แมน (Spearman Rank Correlation    ระดับการศึกษา
            Coefficient) โดยมีเกณฑ์ประเมินระดับความสัมพันธ์     ประถมศึกษาหรือเทียบเท่า   158   42.70
                                                          มัธยมศึกษา             124     33.51
                                                  [11]
            (Hinkle D.E. and Stephen G.J.  1998, p. 118))
                                                          สูงกว่ามัธยมศึกษาตอนปลาย   88   23.78
            ดังนี้ r มีค่า 0 หมายถึงไม่มีความสัมพันธ์กัน, r มีค่า 1   อาชีพ
            หมายถึง มีความสัมพันธ์กันอย่างสมบูรณ์,  r มีค่า ±     เกษตรกรรม      246     66.49

            0.01 – ± 0.29 หมายถึง มีความสัมพันธ์กันน้อย, r มี    ปศุสัตว์         51     13.78
                                                          รับจ้างทั่วไป           28      7.57
            ค่า ± 0.30 – ± 0.69 หมายถึง มีความสัมพันธ์กันปาน
                                                          อื่น ๆ                  45     12.16
            กลาง และ r มีค่า ± 0.70 – ± 0.099 หมายถึง มีความ
                                                        การใช้ smartphone
            สัมพันธ์กันมาก                                ใช้                    370      100

                          ผลกำรศึกษำ                      ไม่ใช้                  0        0

            คุณลักษณะประชำกร

                 ข้อมูลทั่วไปของกลุ่มตัวอย่าง ส่วนใหญ่เป็น  โรค อยู่ในระดับน้อย (x = 2.30, S.D. = 0.58) แต่

            เพศหญิง มีอายุระหว่าง 56–65 ปี มีความรู้สามารถ  เมื่อพิจารณารายด้าน พบว่า  การรับรู้สถานการณ์ที่
            อ่านออกเขียนได้ทุกคน โดยมีระดับการศึกษาส่วน  เกี่ยวข้องกับการใช้กัญชารักษาโรคในบริบทภายนอก
            ใหญ่อยู่ในระดับประถมศึกษาหรือเทียบเท่า ส่วน  และด้านการสนองตอบในการรับรู้การใช้กัญชารักษา

            ใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม และทุกคนมีการใช้   โรค อยู่ในระดับปานกลาง (x = 2.41, S.D.= 0.72
            smartphone (ตารางที่ 1)                     และ x = 2.65, S.D. = 0.92 ตามล�าดับ)   ส่วนการ
                                                        รับรู้สถานการณ์ที่เกี่ยวข้องกับการใช้กัญชารักษาโรค
            1. กำรรับรู้ในกำรใช้กัญชำรักษำโรค           ภายในตัวบุคคล อยู่ในระดับน้อย (x = 2.10, S.D. =

                 ผลการวิเคราะห์การรับรู้การใช้กัญชารักษา  0.68) (ตารางที่ 2)
   112   113   114   115   116   117   118   119   120   121   122