Page 88 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 20 ฉบับที่ 1
P. 88
68 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ปีที่ 20 ฉบับที่ 1 มกราคม-เมษายน 2565
หายใจ (respiratory system) ผลต่อระบบหัวใจและ สาธารณสุข เรื่อง ระบุชื่อยาเสพติดให้โทษในประเภท
หลอดเลือด (cardiovascular system) ผลต่อเชาวน์ 5 พ.ศ. 2563 ปี 2564 เปิดโอกาสให้ประชาชนร่วม
[5]
ปัญญา (cognitive functioning) ผลต่อความผิด กับผู้อนุญาตผลิตยา และผลิตภัณฑ์สมุนไพรขอ
ปกติของจิต (psychotic disorders) และผลต่อกลุ่ม อนุญาตปลูกได้โดยไม่ต้องรวมตัวเป็นวิสาหกิจชุมชน
อาการติดยา (dependence syndrome) การใช้กัญชา หรือร่วมมือกับหน่วยงานรัฐ และในปี 2565 หลัง
[6]
เป็นระยะเวลานาน ๆ จะท�าให้เกิดกลุ่มอาการดังกล่าว จากวันที่ 9 มิถุนายน 2565 กัญชาจะไม่ใช่ยาเสพติด
ประมาณ 1 ใน 10 ของผู้เสพกัญชา ทั้งนี้ อัตราส่วน ให้โทษประเภท 5 ยกเว้นสารสกัดของกัญชาที่มีค่า
จะเพิ่มขึ้นเป็น 1 ใน 6 ของจ�านวนผู้เสพ หากเริ่มเสพ tetrahydrocannabinol (THC) เกินร้อยละ 0.2 ที่
ตั้งแต่เป็นวัยรุ่น จากผลเสียต่อสุขภาพและสังคมของ ยังถือว่าเป็นยาเสพติด จะมีการควบคุม ท�าได้เฉพาะ
กัญชาท�าให้หลายประเทศมีการควบคุมการใช้กัญชา ที่ได้รับอนุญาตเท่านั้น
[7]
ที่เข้มงวด [1] ส�านักงานสาธารณสุขจังหวัดสุราษฎร์ธานี เป็น
ส�าหรับประเทศไทย กฎหมายที่ก�ากับดูแล หน่วยงานรับแจ้งการมีไว้ในครอบครองซึ่งกัญชาเพื่อ
กัญชามีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วเพื่อเปิดโอกาส รักษาโรคเฉพาะตัวของผู้ป่วย และมีหน้าที่ควบคุม
ให้ประชาชนใช้กัญชาในการรักษาโรคและประโยชน์ ก�ากับดูแลให้ประชาชนน�ากัญชาไปใช้ในทางการแพทย์
ทางการแพทย์ได้เช่นเดียวกับในหลายประเทศ โดย อย่างถูกกฎหมาย พบว่านอกจากผู้ป่วยที่มาแจ้งการ
ในปี 2562 กระทรวงสาธารณสุขออกพระราชบัญญัติ ครอบครองกัญชาแล้ว ยังมีประชาชนให้ความสนใจ
ยาเสพติดให้โทษ (ฉบับที่ 7) พ.ศ. 2562 และ สอบถามการใช้กัญชาเพื่อประโยชน์ทางการแพทย์ซึ่ง
[3]
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง การครอบครองยา อาจเป็นคนที่เคยใช้แต่ไม่กล้าแสดงตนหรือมีคนใกล้
เสพติดให้โทษในประเภท 5 เฉพาะกัญชา ส�าหรับผู้ป่วย ชิดใช้หรือต้องการได้รับความรู้ที่ถูกต้องเพื่อใช้เผย
ที่มีความจ�าเป็นต้องใช้เพื่อรักษาโรคเฉพาะตัว ก่อน แพร่ข้อมูลต่อไป และเจ้าหน้าที่ซึ่งส่วนใหญ่ท�างานด้าน
พระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ (ฉบับที่ 7) พ.ศ. กฎหมายเป็นหลักไม่ได้เกี่ยวข้องกับการรักษาโดยตรง
2562 ใช้บังคับให้ไม่ต้องรับโทษ พ.ศ. 2562 ซึ่งประกาศ มีข้อสงสัยเกี่ยวกับการใช้กัญชาในการรักษาโรคได้
ในราชกิจจานุเบกษา เมื่อวันที่ 26 กุมภาพันธ์ 2562 [4] มาสอบถามข้อมูล เพราะต้องการทราบความชัดเจน
โดยกฎหมายก�าหนดให้ผู้ป่วยที่มีความจ�าเป็นต้องใช้ และมีข้อสงสัยหลายประการเกี่ยวกับกฎหมาย รวม
กัญชาเพื่อรักษาโรคเฉพาะตัวก่อนพระราชบัญญัติยา ถึงมีความคาดหวังที่หลากหลายเกี่ยวกับการแจ้งการ
เสพติดให้โทษ (ฉบับที่ 7) พ.ศ. 2562 มีผลใช้บังคับ มีไว้ในครอบครองซึ่งกัญชา และการใช้กัญชาทางการ
ไม่ต้องรับโทษ ให้มาแจ้งการมีไว้ในครอบครองซึ่ง แพทย์ในอนาคต
กัญชาเพื่อรักษาโรคเฉพาะตัวของผู้ป่วย ณ จังหวัด ดังนั้น การศึกษานี้จึงมีวัตถุประสงค์ที่จะศึกษา
ที่ตนอาศัยอยู่ ในปี 2563 บางส่วนของกัญชาที่ได้ สถานการณ์การครอบครองกัญชาเพื่อใช้ประโยชน์
รับอนุญาตให้ปลูกในประเทศไทยตามกฎหมายที่ ทางการแพทย์ ตามพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ
แก้ไขปรับปรุงไม่จัดเป็นยาเสพติดให้โทษประเภท (ฉบับที่ 7) พ.ศ. 2562 รวมทั้งศึกษาการรับรู้ข้อมูล
5 เช่น ใบ กิ่ง ก้าน เป็นต้น ตามประกาศกระทรวง และความคาดหวังของผู้ป่วย ประชาชนและเจ้าหน้าที่