Page 63 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 20 ฉบับที่ 1
P. 63

J Thai Trad Alt Med                                   Vol. 20  No. 1  Jan-Apr  2022  43




              ผู้ป่วยโรคปลอกประสาทเสื่อมแข็ง โรคลมชักที่ดื้อ  ยาท�าลายพระสุเมรุซึ่งมีข้อบ่งใช้หลักในการรักษา
              ต่อยารักษา และภาวะปวดประสาท  นอกจากนี้ ยัง  กล้ามเนื้อแข็งเกร็งและกล้ามเนื้ออ่อนแรงในผู้ป่วยโรค
                                         [2]
              มีการน�ามาใช้ในภาวะคลื่นไส้อาเจียนจากเคมีบ�าบัด   อัมพฤกษ์อัมพาต อาการปวดกล้ามเนื้อเรื้อรังและข้อ

              ภาวะเบื่ออาหาร และการเพิ่มคุณภาพชีวิตในผู้ป่วยที่  เข่าเสื่อม ท�าให้ต้องมีการใช้ยาอย่างต่อเนื่อง ปัจจุบัน
              ได้รับการดูแลแบบประคับประคองอีกด้วย [3]     ยังไม่มีหลักฐานเชิงประจักษ์เกี่ยวกับรูปแบบการสั่ง

                   กัญชาได้มีการน�ามาใช้เป็นยารักษาโรคในทาง   จ่ายยา การปรับขนาดยา รวมทั้งข้อมูลด้านอาการไม่
              การแพทย์แผนไทยมาตั้งแต่อดีต มีหลักฐานซึ่งถูก  พึงประสงค์และประสิทธิผลของการใช้ต�ารับยาท�าลาย
              บันทึกในประวัติศาสตร์ในรูปแบบศิลาจารึก และ  พระสุเมรุ

              คัมภีร์ต�าราการแพทย์แผนไทยหลายเล่ม เช่น คัมภีร์     ดังนั้น การศึกษานี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา
              ธาตุพระนารายน์และต�าราแพทย์ศาสตร์สงเคราะห์   รูปแบบการสั่งใช้ยา ความปลอดภัยและผลต่อ

              อย่างไรก็ตาม พระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ พ.ศ.   คุณภาพชีวิตของต�ารับยาท�าลายพระสุเมรุ โดยข้อมูลที่
              2522 ที่ก�าหนดให้กัญชาจัดอยู่ในกลุ่มยาเสพติดให้โทษ  ได้จะเป็นประโยชน์ส�าหรับแพทย์แผนไทยในการสั่งใช้
              ประเภท 5 ท�าให้ไม่มีการใช้กัญชาในต�ารับยาแพทย์  และติดตามประสิทธิผลและความปลอดภัยของต�ารับ
                      [4]
              แผนไทยมาก่อน ปัจจุบันมีการประกาศพระราชบัญญัติ  ยาท�าลายพระสุเมรุต่อไป
              ยาเสพติดให้โทษฉบับใหม่ (ฉบับที่ 7) พ.ศ. 2562 [5]
              ก�าหนดให้สามารถใช้กัญชาเพื่อประโยชน์ทางการ             ระเบียบวิธีศึกษำ

              แพทย์ได้ การรักษาผู้ป่วย การศึกษาวิจัยและพัฒนาที่     การศึกษานี้เป็นการศึกษาแบบเก็บข้อมูลย้อน
              เกี่ยวกับกัญชาจึงมีเพิ่มมากขึ้น ส่วนการใช้กัญชาในการ  หลังจากเวชระเบียน (retrospective chart review)
              รักษาผู้ป่วยในประเทศไทยนั้น มีการใช้ทั้งการรักษา  ของผู้มารับการรักษาที่คลินิกกัญชาทางการแพทย์

              แบบแพทย์แผนปัจจุบัน เช่น การใช้สารสกัดกัญชา   โรงพยาบาลการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ผสม
              ในการรักษาและการใช้ในรูปแบบแพทย์แผนไทย เช่น   ผสาน ระหว่างวันที่ 1 ตุลาคม 2562–31 ธันวาคม 2563

              การใช้กัญชาผสมในต�ารับยาแผนไทย โดยที่ต�ารับยา   โดยการศึกษานี้ได้รับการอนุมัติจากคณะกรรมการ
              แผนไทยที่อนุญาตให้ใช้ในการรักษาแผนไทยตาม    จริยธรรมการวิจัยในมนุษย์มหาวิทยาลัยนเรศวร เลข
              ประกาศกระทรวงสาธารณสุข มีทั้งหมด 16 ต�ารับ   ที่รับรอง P10092/63

                   ต�ารับยาท�าลายพระสุเมรุประกอบด้วยสมุนไพร
              23 ชนิด โดยที่สมุนไพรหลักในต�ารับได้แก่ พริกไทย  1. วัสดุ

              ล่อน หัสคุณเทศ สมอเทศ และสมอไทย รวมทั้งมี       1.1 ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
              ช่อดอกกัญชาเป็นส่วนผสมร้อยละ 2.24 ของต�ารับ   ผู้ป่วยที่มารับบริการในคลินิกกัญชาทางการแพทย์
              มีส่วนผสมของสมุนไพรหลายชนิดซึ่งมีสารส�าคัญที่  โรงพยาบาลการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ผสม

              แตกต่างกันไปอาจส่งผลให้อาการไม่พึงประสงค์และ  ผสาน ที่ได้รับการรักษาด้วยต�ารับยาท�าลายพระสุเมรุ
              ประสิทธิผลของต�ารับยาแผนไทยแตกต่างจากสาร    ระหว่างวันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2562 ถึงวันที่ 31 ธันวาคม
              สกัดกัญชาที่มีการศึกษามาก่อนหน้า นอกจากนี้ ต�ารับ  พ.ศ. 2563
   58   59   60   61   62   63   64   65   66   67   68