Page 58 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 20 ฉบับที่ 1
P. 58

38 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก        ปีที่ 20  ฉบับที่ 1  มกราคม-เมษายน 2565




             ผลการศึกษานี้ก็แสดงให้เห็นว่าการสูดดมน�้ามันหอม  et al. ได้ท�าการศึกษาการปรับสมรรถภาพทาง
                                                             [15]
             ระเหยผักแขยง หูเสือ และโหระพายังสามารถกระตุ้น  ปัญญาและอารมณ์จากกลิ่นของสะระแหน่และ
             อารมณ์ความรู้สึกของบุคคลในด้านความตื่นตัว ความ  กระดังงา พบว่าหลังการสูดดมน�้ามันหอมระเหย

             ผ่อนคลาย สนใจสิ่งที่ก�าลังท�า มองตนเองมีความ  สะระแหน่มีการเพิ่มความตื่นตัวและน�้ามันหอม
             สามารถ มีความสุข เป็นมิตรกับคนอื่น สนใจสิ่งต่าง ๆ    ระเหยกระดังงามีการตื่นตัวที่ลดลง แต่กลับเพิ่ม

             และอยากเข้าสังคมอีกด้วย ซึ่งการศึกษาของ Winai   ความสงบอย่างมีนัยส�าคัญ นอกจากนี้ Nunchanok
             Sayorwan  ก็พบว่าการสูดดมน�้ามันหอมระเหย    Piakaew et al. ก็พบว่าน�้ามันลาเวนเดอร์มีผลต่อ
                      [10]
                                                                     [6]
             กลิ่นตะไคร้หอม กลิ่นลาเวนเดอร์ กลิ่นโรสแมรี่ ท�าให้  การลดความเครียดและท�าให้คลื่นสมองประเภท
             มีความรู้สึกที่ดีขึ้น รู้สึกกระตือรือร้น กระปรี้กระเปร่า   อัลฟ่าเพิ่มขึ้นซึ่งแสดงถึงสภาวะทางจิตที่ผ่อนคลาย ซึ่ง
             และผ่อนคลายมากกว่าเมื่อเปรียบเทียบกับการดมน�้า  สอดคล้องกับการศึกษาของ Supansa Somwong
                                                                                              [17]
             มันอัลมอนด์ สอดคล้องกับการศึกษาของ Dussadee   ที่พบว่าน�้ามันหอมระเหยลาเวนเดอร์ เลมอนบาล์
             Udommittipong et al.  ที่รายงานว่าน�้ามันหอม  ม และส้ม สามารถลดอาการนอนไม่หลับอย่างมีนัย
                                 [8]
             ระเหยเป็นประโยชน์ต่อการดูแลรักษา เพื่อผ่อนคลาย   ส�าคัญ และไม่พบการรายงานอาการไม่พึงประสงค์ที่

             รักษาความวิตกกังวล ซึมเศร้า การรู้คิด การนอน  รุนแรงจากการใช้น�้ามันหอมระเหย
             หลับ และการเปลี่ยนแปลงด้านอารมณ์ เช่นเดียวกับ
             ผลการศึกษาของ Diego et al.  ที่พบว่าหลังการ                 ข้อสรุป
                                      [13]
             สูดดมกลิ่นน�้ามันหอมระเหยโรสแมรี่ส่งผลต่อพลัง     สุคนธบ�าบัดเป็นการใช้สมุนไพรในการดูแล
             อัลฟ่าและเบต้าลดลงซึ่งบ่งบอกถึงความตื่นตัวที่เพิ่ม  สุขภาพ โดยใช้กลิ่นของน�้ามันหอมระเหยจากสมุนไพร
             ขึ้น ในทางกลับกันหลังการสูดดมน�้ามันหอมระเหย  ซึ่งการสูดดมน�้ามันหอมระเหยผักแขยงส่งผลต่อ

             ลาเวนเดอร์ส่งผลต่อพลังเบต้าที่เพิ่มขึ้น ซึ่งบ่งบอก  ภาวะความจ�าที่ดีขึ้น นอกจากนี้ยังสามารถกระตุ้น
             ถึงอาการง่วงนอนที่เพิ่มขึ้น อารมณ์หดหู่น้อยลง และ  ภาวะทางอารมณ์ ท�าให้รู้สึกตื่นตัวและตื่นเต้นเพิ่มขึ้น

             รู้สึกผ่อนคลายมากขึ้น Aumpol Bunpean et al. [7]   น�้ามันหอมระเหยหูเสือส่งผลให้รู้สึกผ่อนคลายเพิ่ม
             ก็ได้ท�าการศึกษาผลของการสูดดมกลิ่นน�้ามันดอก  ขึ้น น�้ามันหอมระเหยโหระพาส่งผลให้รู้สึกผ่อนคลาย
             ว่านมหาหงส์ต่อระบบประสาทและอารมณ์ความรู้สึก   สนใจสิ่งที่ก�าลังท�า มองตนเองมีความสามารถ รู้สึกมี

             พบว่าการสูดดมกลิ่นดอกว่านมหาหงส์มีผลท�าให้มี  ความสุข เป็นมิตรกับคนอื่น สนใจสิ่งต่าง ๆ และอยาก
             ความรู้สึกดี รู้สึกผ่อนคลาย รู้สึกเคลิบเคลิ้มรัญจวน  เข้าสังคมเพิ่มขึ้น จากผลการศึกษาดังกล่าวแสดงให้

             ใจ รู้สึกสงบนิ่งเพิ่มมากขึ้น ส่วนรู้สึกเครียด รู้สึกอึดอัด  เห็นถึงประโยชน์ของสมุนไพรท้องถิ่นที่มีต่อสุขภาพ
             หงุดหงิด รู้สึกรังเกียจขยะแขยงลดลง สอดคล้องกับ  จึงควรส่งเสริมให้มีการใช้สมุนไพรในท้องถิ่นเพื่อดูแล
             การศึกษาของ Sutunya Promsomboon et al.  พบ  สุขภาพต่อไป
                                                [16]
             ว่าน�้ามันหอมระเหยจากสมุนไพร 5 ชนิด คือ เหง้าขิง
             ขมิ้น ใบโหระพา ใบแมงลัก และผิวมะกรูด มีฤทธิ์ท�าให้       ข้อเสนอแนะ
             ผ่อนคลายได้จริง สอดคล้องกับการศึกษาของ Moss       ผลการศึกษาครั้งนี้ท�าการวิจัยในผู้ที่มีสุขภาพ
   53   54   55   56   57   58   59   60   61   62   63