Page 61 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 20 ฉบับที่ 1
P. 61
วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก Journal of Thai Traditional & Alternative Medicine
ปีที่ 20 ฉบับที่ 1 มกราคม-เมษายน 2565 Vol. 20 No. 1 January-April 2022
นิพนธ์ต้นฉบับ
รูปแบบการสั่งใช้ ความปลอดภัยและผลต่อคุณภาพชีวิตของตำารับยาทำาลาย
พระสุเมรุ
อาภากร บุญธรรม , ปรีชา หนูทิม , ปิยะเมธ ดิลกธรสกุล
*,†
‡,§
†
* หลักสูตรเภสัชศาสตรมหาบัณฑิต (เภสัชกรรมชุมชม) คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ตำาบลท่าโพธิ์ อำาเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก 65000
† โรงพยาบาลการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ผสมผสาน กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก แขวงคลองมหานาค
เขตป้อมปราบศัตรูผ่าย จังหวัดกรุงเทพมหานคร 10100
‡ ศูนย์วิจัยผลลัพธ์ทางเภสัชกรรม ภาควิชาเภสัชกรรมปฏิบัติ คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ตำาบลท่าโพธิ์ อำาเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก
65000
§ ผู้รับผิดชอบบทความ: piyamethd@nu.ac.th
บทคัดย่อ
ตำ�รับย�ทำ�ล�ยพระสุเมรุเป็นหนึ่งในตำ�รับย�ที่มีส่วนผสมของช่อดอกกัญช�ที่กรมก�รแพทย์แผนไทยและ
ก�รแพทย์ท�งเลือกให้ก�รรับรองและกระทรวงส�ธ�รณสุขประก�ศเป็นตำ�รับให้ใช้สำ�หรับแก้ลมจุกเสียด ลมเมื่อย
ขบในร่�งก�ย บรรเท�อ�ก�รแข็งเกร็งของกล้�มเนื้อ แขนข�อ่อนแรงและอ�ก�รช�ในผู้ป่วยอัมพฤกษ์อัมพ�ต ก�ร
ศึกษ�นี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษ�รูปแบบก�รสั่งใช้ย� อ�ก�รไม่พึงประสงค์ และคุณภ�พชีวิตของผู้ป่วยที่ได้รับตำ�รับ
ย�ทำ�ล�ยพระสุเมรุ โดยทำ�ก�รศึกษ�แบบเก็บข้อมูลย้อนหลังจ�กเวชระเบียนของผู้ม�รับก�รรักษ�ที่คลินิกกัญช�
ท�งก�รแพทย์ โรงพย�บ�ลก�รแพทย์แผนไทยและก�รแพทย์ผสมผส�นในระหว่�งวันที่ 1 ตุล�คม 2562–31 ธันว�คม
2563 จ�กผู้ป่วยจำ�นวนทั้งหมด 239 คน เป็นเพศช�ยร้อยละ 64.02 มีอ�ยุเฉลี่ย 48.48 ± 14.31 ปี มีข้อบ่งใช้ส่วนใหญ่คือ
กลุ่มอ�ก�รปวดกล้�มเนื้อ (ร้อยละ 43.10) รองลงม�คือ อัมพฤกษ์หรืออัมพ�ต (ร้อยละ 28.87) และอ�ก�รช�, นอนไม่
หลับ, ข้อเข่�เสื่อม, พ�ร์กินสัน ร้อยละ 7.11, 6.69, 5.86 และ 5.86 ต�มลำ�ดับ รูปแบบก�รสั่งใช้ย�ในขน�ดเริ่มต้นส่วน
ใหญ่คือ 1 กรัม วันละ 2 ครั้ง (ร้อยละ 31.38) และ 1 กรัม วันละ 1 ครั้ง (ร้อยละ 30.96) ส่วนขน�ดย�คงที่สำ�หรับใช้ใน
ก�รรักษ�อยู่ในช่วง 0.5 ถึง 4.0 กรัมต่อวัน โดยส่วนใหญ่ผู้ป่วยจะได้รับในขน�ด 2 กรัมต่อวัน (ร้อยละ 60.93) ข้อมูล
ด้�นคุณภ�พชีวิตเก็บข้อมูลจ�กแบบสอบถ�ม EQ-5D-5L พบว่� ค่�อรรถประโยชน์เฉลี่ยก่อนเริ่มก�รรักษ� คือ 0.80
± 0.19 และหลังได้รับก�รรักษ�ในเดือนที่ 3 คือ 0.86 ± 0.16 โดยค่�อรรถประโยชน์เฉลี่ยเพิ่มขึ้นอย่�งมีนัยสำ�คัญท�ง
สถิติ (p < 0.001) ส่วนก�รเกิดเหตุก�รณ์ไม่พึงประสงค์พบ 39 เหตุก�รณ์ในผู้ป่วย 29 ร�ย เป็นเหตุก�รณ์ไม่พึงประสงค์
ที่ไม่รุนแรง ได้แก่ ระค�ยเคืองท�งเดินอ�ห�ร (13 คน), ร้อนวูบว�บ (5 คน), วิงเวียนหรือปวดศีรษะ (4 คน), คลื่นไส้
อ�เจียน (4 คน), ป�กแห้งคอแห้ง (3 คน) เป็นต้น จึงสรุปได้ว่� ก�รใช้ตำ�รับย�ทำ�ล�ยพระสุเมรุช่วยเพิ่มคุณภ�พชีวิต
ของผู้ป่วยและมีคว�มปลอดภัย แม้จะพบอ�ก�รไม่พึงประสงค์แต่เป็นเหตุก�รณ์ที่ไม่รุนแรงและส�ม�รถพิจ�รณ�
เป็นก�รรักษ�ที่เป็นท�งเลือกให้กับผู้ป่วยได้
คำ�สำ�คัญ: ตำ�รับย�ทำ�ล�ยพระสุเมรุ, กัญช�, รูปแบบก�รสั่งใช้ย�, คุณภ�พชีวิต, เหตุก�รณ์ไม่พึงประสงค์
Received date 20/07/21; Revised date 13/11/21; Accepted date 23/03/22
41