Page 65 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 20 ฉบับที่ 1
P. 65

J Thai Trad Alt Med                                   Vol. 20  No. 1  Jan-Apr  2022  45




              การดูแลตนเอง กิจกรรมที่ท�าเป็นประจ�า อาการเจ็บ  คน (ร้อยละ 7.11), อาการนอนไม่หลับ จ�านวน 16 คน
              ปวดหรือไม่สบายตัว ความรู้สึกวิตกกังวลหรือซึมเศร้า   (ร้อยละ 6.69), โรคข้อเข่าเสื่อมและโรคพาร์กินสัน
              และค่าอรรถประโยชน์ (utility)                จ�านวน 14 คน (ร้อยละ 5.86) และกลุ่มอาการอื่น ๆ

                   2.2 การวิเคราะห์ข้อมูล                 ได้แก่ จุกเสียดแน่นท้อง วิงเวียน และปวดศีรษะ
                   วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ การ  จ�านวน 6 คน (ร้อยละ 2.51) (ตารางที่ 1)

              แจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยง     ผู้ป่วยได้รับต�ารับยาท�าลายพระสุเมรุที่ขนาดยา
              เบนมาตรฐาน และความเชื่อมั่นที่ร้อยละ 95 (95%   เริ่มต้น 0.5 กรัมต่อวัน จ�านวน 37 คน (ร้อยละ 15.48),
              confidence Interval; CI) ในการรายงานลักษณะ   1 กรัมต่อวัน จ�านวน 99 คน (ร้อยละ 41.42) และ 2

              พื้นฐานและเหตุการณ์ไม่พึงประสงค์ และอรรถประโยชน์   กรัมต่อวัน จ�านวน 103 คน (ร้อยละ 43.10) โดยรูป
              และใช้สถิติเชิงอนุมาน ได้แก่ Skilling–Mack test   แบบการสั่งจ่ายยาในขนาดเริ่มต้นที่ผู้ป่วยส่วนใหญ่

              ในการเปรียบเทียบค่าอรรถประโยชน์ของผู้ป่วยที่  ได้รับคือ 1 กรัม วันละ 2 ครั้ง จ�านวน 75 คน (ร้อยละ
              เดือนที่ 0, 1, และ 3 หลังได้รับการรักษาด้วยต�ารับยา  31.38) และ 1 กรัม วันละ 1 ครั้ง จ�านวน 74 คน (ร้อยละ
              ท�าลายพระสุเมรุ                             30.96) (ตารางที่ 2)

                                                              ขนาดยาคงที่ (maintenance dose) ของต�ารับ
                            ผลกำรศึกษำ                    ยาท�าลายพระสุเมรุที่ใช้ในการรักษาอยู่ในช่วง 0.5-4

              1. ข้อมูลทั่วไปของผู้ป่วย                   กรัมต่อวันส่วนใหญ่ คือ 2 กรัมต่อวัน จ�านวน 117

                   ผู้ป่วยที่ท�าการศึกษาทั้งหมด 239 คน เพศชาย   คน (ร้อยละ 60.93) รองลงมาคือ 1 กรัมต่อวัน จ�านวน

              จ�านวน 153 คน (ร้อยละ 64.02) มีอายุเฉลี่ย 58.19   56 คน (ร้อยละ 29.17) ขนาดยาคงที่ต�่าสุดที่ใช้ใน
              ± 13.35 ปี ผู้ป่วยมีโรคประจ�าตัว จ�านวน 166 คน   การรักษาคือ 0.5 กรัมต่อวัน จ�านวน 13 คน (ร้อยละ

              (ร้อยละ 69.46) และใช้ยารักษาโรคประจ�าตัวหรือยา  6.77) มีเพียงอาการชาและโรคข้อเข่าเสื่อมที่ไม่มีการ
              อื่น ๆ จ�านวน 155 คน (ร้อยละ 64.85) ผู้ป่วยจ�านวน   ใช้ขนาดดังกล่าวเป็นขนาดยาคงที่ และขนาดยาคงที่
              94 คน (ร้อยละ 39.33) ไม่เคยใช้ยาหรือผลิตภัณฑ์  สูงสุด 4 กรัมต่อวัน จ�านวน 6 คน (ร้อยละ 3.12) ที่มี

              ที่มีส่วนผสมของกัญชามาก่อนและมีผู้ป่วยบางส่วน  การใช้เป็นขนาดยาคงที่ในอาการปวดกล้ามเนื้อ โรค
              ที่ยังคงใช้ยาที่มีส่วนผสมของกัญชาอื่น ๆ อยู่ก่อน  อัมพฤกษ์หรืออัมพาต และอาการนอนไม่หลับ

              เริ่มต�ารับยาท�าลายพระสุเมรุ จ�านวน 39 คน (ร้อยละ      ขนาดยาคงที่ของอาการปวดกล้ามเนื้อส่วนใหญ่
              16.32) (ตารางที่ 1)                         คือ 2 กรัมต่อวัน จ�านวน 56 คน (ร้อยละ 29.17) เช่น
                                                          เดียวกับโรคอัมพฤกษ์หรืออัมพาต จ�านวน 29 คน
              2. ข้อบ่งใช้และรูปแบบกำรสั่งใช้ยำ           (ร้อยละ 15.10), โรคข้อเข่าเสื่อม จ�านวน 12 คน (ร้อยละ
                   ข้อบ่งใช้ส่วนใหญ่ในการสั่งใช้ต�ารับยาท�าลาย  6.25), อาการนอนไม่หลับ จ�านวน 8 คน (ร้อยละ 4.17)

              พระสุเมรุ คือ อาการปวดกล้ามเนื้อ จ�านวน 103 คน   และโรคพาร์กินสัน จ�านวน 4 คน (ร้อยละ 2.08) ส่วน
              (ร้อยละ 43.1) รองลงมาคือ โรคอัมพฤกษ์หรืออัมพาต   ขนาดยาคงที่ของอาการชาส่วนใหญ่คือ 1 กรัมต่อวัน
              จ�านวน 69 คน (ร้อยละ 28.87), อาการชา จ�านวน 17   จ�านวน 8 คน (ร้อยละ 4.17) (ตารางที่ 3)
   60   61   62   63   64   65   66   67   68   69   70