Page 64 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 20 ฉบับที่ 1
P. 64

44 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก        ปีที่ 20  ฉบับที่ 1  มกราคม-เมษายน 2565




                 1.2  เกณฑ์การคัดเข้า                    2. วิธีกำรศึกษำ
                    1) เป็นผู้ป่วยที่มีอายุตั้งแต่ 20 ปีขึ้นไป      2.1 การรวบรวมข้อมูล
                    2) มารับบริการที่คลินิกกัญชาทางการ       การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยแบบเก็บข้อมูลย้อน

             แพทย์ อย่างน้อย 2 ครั้ง                     หลัง ซึ่งได้ท�าการเก็บรวบรวมข้อมูลผู้ป่วยทุกรายที่
                    3) ได้รับต�ารับยาท�าลายพระสุเมรุอย่าง  ผ่านเกณฑ์การคัดเข้าในช่วงเวลาที่ท�าการศึกษา โดย

             น้อย 1 ครั้ง                                ท�าการรวบรวมข้อมูลจาก 2 ส่วน ได้แก่ แฟ้มประวัติ
                 1.3  เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา ใช้แบบเก็บ  ผู้ป่วยและข้อมูลในเวชระเบียนอิเล็กทรอนิกส์ของโรง
             ข้อมูลจากเวชระเบียน แบ่งเป็น 4 ส่วน ได้แก่   พยาบาล

                    ส่วนที่ 1 ข้อมูลพื้นฐานส่วนบุคคล ประกอบ     ผลลัพธ์ของการศึกษานี้ คือ รูปแบบการสั่งใช้ยา
             ด้วย เพศ อายุ น�้าหนัก โรคประจ�าตัว ยาอื่นที่ได้รับร่วม  เหตุการณ์ไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา และคุณภาพ

             กัน ประวัติแพ้ยา และประวัติการใช้ผลิตภัณฑ์ที่มีส่วน  ชีวิต โดยมีนิยามของผลลัพธ์ของการศึกษา ดังนี้
             ผสมของกัญชา                                     รูปแบบการสั่งใช้ยา หมายถึง ข้อมูลการสั่งใช้
                    ส่วนที่ 2 ข้อมูลรูปแบบการสั่งใช้ยา ประกอบ  ต�ารับยาท�าลายพระสุเมรุ ประกอบด้วยขนาดยาและ

             ด้วย วันที่ได้รับยา ข้อบ่งใช้ ขนาดยาและวิธีการใช้ยา   จ�านวนครั้งที่ใช้ยาต่อวัน โดยแบ่งเป็นรูปแบบการสั่ง
                    ส่วนที่ 3 ข้อมูลด้านคุณภาพชีวิตที่ประเมิน  ใช้ยาที่ขนาดยาเริ่มต้นและรูปแบบการสั่งใช้ยาที่ขนาด
             โดยใช้แบบประเมินคุณภาพชีวิต EQ-5D-5L ฉบับ   ยาคงที่

             ภาษาไทย  ประกอบด้วย คะแนนการประเมิน             ขนาดยาเริ่มต้น หมายถึง ขนาดยาต่อวันในการ
                     [6]
             คุณภาพชีวิต EQ-5D-5L ทั้ง 5 ด้าน ได้แก่ การ  สั่งใช้ยาครั้งแรก
             เคลื่อนไหว การดูแลตนเอง กิจกรรมที่ท�าเป็นประจ�า      ขนาดยาคงที่ (maintenance dose) หมายถึง

             อาการเจ็บปวด/อาการไม่สบายตัว และความวิตก    ขนาดยาต่อวันที่มีการสั่งใช้ติดต่อกันอย่างน้อย 2 ครั้ง
             กังวล/ความซึมเศร้า                          ของการรักษา (clinical visit) ซึ่งจะต้องมีเวลาไม่น้อย

                    ส่วนที่ 4 ข้อมูลอาการไม่พึงประสงค์   กว่า 4 สัปดาห์
             จากการใช้ยา ประกอบด้วย ลักษณะอาการไม่พึง        เหตุการณ์ไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา หมายถึง
             ประสงค์ ประเภทของอาการไม่พึงประสงค์ ขนาด    ข้อมูลจากรายงานเหตุการณ์ไม่พึงประสงค์จากการ

             ยาที่ได้รับระหว่างเกิดเหตุการณ์ไม่พึงประสงค์ การ  ใช้ผลิตภัณฑ์สุขภาพ และข้อมูลการประเมินความ
             จัดการเหตุการณ์ไม่พึงประสงค์และการประเมินความ  สัมพันธ์ระหว่างอาการไม่พึงประสงค์กับยาที่สงสัยโดย

             สัมพันธ์ระหว่างอาการไม่พึงประสงค์กับยาที่สงสัยโดย  ใช้ Naranjo’s algorithm โดยท�าการติดตามทุกครั้ง
             ใช้ Naranjo’s algorithm                     ที่ผู้ป่วยมารับการรักษา
                 การศึกษานี้ได้วิเคราะห์ความถูกต้องเชิงเนื้อหา     คุณภาพชีวิต หมายถึง ข้อมูลจากแบบประเมิน

             ของเครื่องมือด้วยการค�านวณดัชนีความสอดคล้อง   คุณภาพชีวิต EQ-5D-5L ฉบับภาษาไทย โดยท�าการ
             (Index of Item-Objective Congruence; IOC) และ  ประเมินก่อนเริ่มการรักษาและหลังการรักษาในเดือน
             ก�าหนดให้หัวข้อที่จะเก็บข้อมูลต้องมีค่า IOC ≥ 0.5  ที่ 1 และ 3 ประกอบด้วย 5 ด้าน ได้แก่ การเคลื่อนไหว
   59   60   61   62   63   64   65   66   67   68   69