Page 158 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 20 ฉบับที่ 1
P. 158

138 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก       ปีที่ 20  ฉบับที่ 1  มกราคม-เมษายน 2565




             ด้วยเอทานอลความเข้มข้นร้อยละ 50 และปริมาณสาร     การก�าหนดข้อก�าหนดมาตรฐาน โดยก�าหนด
             สกัดด้วยน�้า ซึ่งตัวอย่างทั้ง 2 เป็นตัวอย่างที่มีปริมาณ  เกณฑ์สูงสุดจากค่าเฉลี่ยบวก 10% ส�าหรับปริมาณที่
             น�้ามันระเหยง่ายสูงมากเมื่อเทียบกับตัวอย่างอื่น ๆ   ระบุว่า “ไม่เกิน’’ และเกณฑ์ต�่าสุดจากค่าเฉลี่ยลบด้วย

             โดยตัวอย่างที่ 14 และ 15 มีค่าปริมาณน�้ามันระเหย  10% ส�าหรับปริมาณที่ระบุว่า “ไม่น้อยกว่า’’ ดังนั้น
             ง่าย เท่ากับ ร้อยละ 2.91 และ 2.90 โดยปริมาตรต่อ  จะได้ข้อก�าหนดคุณภาพของเครื่องยากระชายได้

             น�้าหนัก ตามล�าดับ                          (ตารางที่ 4)


             ตารางที่ 4  ข้อก�าหนดคุณภาพของเครื่องยากระชาย

                คุณสมบัติทางเคมีฟิสิกส์          เกณฑ์ก�าหนด                  ข้อก�าหนดคุณภาพ
                                            ค่าสูงสุด      ค่าต�่าสุด
                                        (ค่าเฉลี่ย + ร้อยละ  (ค่าเฉลี่ย - ร้อยละ
                                         10 ของค่าเฉลี่ย)   10 ของค่าเฉลี่ย)

              ปริมาณความชื้น                 8.61            -         ไม่เกินร้อยละ 9.0 โดยปริมาตรต่อ
                                                                       น�้าหนัก
              ปริมาณเถ้ารวม                  7.35            -         ไม่เกินร้อยละ 7.0 โดยน�้าหนัก
              ปริมาณเถ้าที่ไม่ละลายกรด       1.32            -         ไม่เกินร้อยละ 1.0 โดยน�้าหนัก
              ปริมาณสารสกัดด้วยเอทานอล 95%    -            11.37       ไม่น้อยกว่าร้อยละ 11.0 โดยน�้าหนัก
              ปริมาณสารสกัดด้วยเอทานอล 50%    -            14.20       ไม่น้อยกว่าร้อยละ 14.0 โดยน�้าหนัก
              ปริมาณสารสกัดด้วยน�้า           -            15.87       ไม่น้อยกว่าร้อยละ 16.0 โดยน�้าหนัก
              ปริมาณน�้ามันระเหยง่าย          -             1.90       ไม่น้อยกว่าร้อยละ 2.0 โดยปริมาตรต่อ
                                                                       น�้าหนัก



                           อภิปรำยผล                     คุณสมบัติทางเคมีฟิสิกส์ เพื่อน�าข้อมูลที่ได้มาก�าหนด

                 การศึกษานี้มีความส�าคัญเนื่องจากจะน�าไป  ข้อก�าหนดคุณภาพส�าหรับกระชาย
             สู่การก�าหนดมาตรฐานของเครื่องยากระชายของ        การตรวจเอกลักษณ์ทางเคมีของกระชายด้วย

             ประเทศไทย เพื่อใช้ในการควบคุมคุณภาพสมุนไพร  ปฏิกิริยาการเกิดสี เป็นการตรวจเบื้องต้นหากลุ่มสาร
             ชนิดนี้ก่อนน�าเข้าสู่กระบวนการผลิตยาหรือผลิตภัณฑ์  ส�าคัญที่เป็นองค์ประกอบ จึงเลือกใช้ Shinoda’s

             สุขภาพ การศึกษานี้ประกอบด้วย 1) การตรวจ     test หรือ Cyanidin reaction ซึ่งเป็นปฏิกิริยาเคมี
             เอกลักษณ์ทางเคมี โดยปฏิกิริยาการเกิดสี  ซึ่งเป็นการ  ที่ใช้ในการตรวจสอบสารกลุ่มฟลาโวนอยด์ โดยการ
             ตรวจสอบเบื้องต้น และรงคเลขผิวบางซึ่งเป็นการ  เติมแมกนีเซียมและกรดเกลือ เกิดปฏิกิริยารีดักชัน

             ตรวจยืนยัน การตรวจเอกลักษณ์ทางเคมีเป็นการ   โดยผลของปฏิกิริยาดังกล่าว หากตรวจพบสารกลุ่ม
             วิเคราะห์เชิงคุณภาพ เพื่อตรวจสอบว่าสมุนไพรที่น�า  ฟลาโวนอยด์จะปรากฏสีของสารละลายเป็นสีส้ม
             มาใช้ เป็นสมุนไพรถูกต้นถูกชนิด และ 2) การประเมิน  (ฟลาโวนอยด์ให้สีแดงกับ Shinoda’s test แต่เมื่ออยู่
   153   154   155   156   157   158   159   160   161   162   163