Page 162 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 20 ฉบับที่ 1
P. 162
142 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ปีที่ 20 ฉบับที่ 1 มกราคม-เมษายน 2565
The Study of Andrographolide Contents in Different Parts of Andrographis
paniculata (Burm. f.) Nees at Different Harvesting Periods from Muak Lek,
Saraburi
Thamarat Bunsoong , Sant Chaiyodsilp , Somwong Chaiyodsilp , Kwansri Sarankawin ,
*
†
*
†,‡
Supassorn Kaewklin†
Regional Medical Sciences Center 4, Saraburi, Mittraphap Subdistrict, Muak Lek District, Saraburi 18180, Thailand
*
Wellness We Care Center, Mittraphap Subdistrict, Muak Lek District, Saraburi 18180, Thailand.
†
Corresponding author: chaiyodsilp@gmail.com
‡
Abstract
Andrographis paniculata (Burm. f.) Nees (fa thalai chon in Thai) is a medicinal plant that naturally grows
in Muak Lek district, Saraburi province. During the flowering stage (mature plant), its andrographolide contents
in various parts, from high to low, namely leaves, aerial parts, stems and flowers are 5.11%, 4.90%, 0.68% and
1.90% w/w respectively; and in the pre-flowering stage (young plant) the contents are 3.65%, 2.95% and 1.03%
w/w respectively. For the treatment of COVID-19 with Andrographis herbal drug, at the andrographolide dose of
180 mg daily for 5 days, 19.6 g of fresh leaves from the young plant or 14.0 g of fresh leaves from the mature plant
should be taken. As for the decoction of aerial parts of the mature plant, 2.5 240-mL glasses should be taken per
day. But tea from fresh leaves, which is drunk without the pulp, has a too low andrographolide content to achieve
the conventional dose for COVID-19 treatment. The results of this study are useful for the public who want to
use their own fresh Andrographis herb to treat COVID-19 by themselves. The proper amount has to be calculated
based on the andrographolide content in the formula they use.
Key words: Andrographis paniculata (Burm. f.) Nees, andrographolide, COVID-19 treatment
บทนำ�และวัตถุประสงค์ ผลของการใช้ฟ้าทะลายโจรรักษาโควิด-19
เมื่อแรกเริ่มเกิดการระบาดของโควิด-19 ในคนเริ่มปรากฏในลักษณะของข้อมูลเชิงระบาด
ปลายปี ค.ศ. 2019 ที่สาธารณรัฐจีน (ไต้หวัน) ได้มี วิทยาเมื่อมีการระบาดของโควิด-19 ในเรือนจ�าและ
ผู้ท�าการวิจัยในห้องปฏิบัติการซึ่งพิสูจน์ได้ว่าแอน- มีการใช้ยาฟ้าทะลายโจรในการรักษา มีผู้ต้องขัง
[3]
โดรกราโฟไลด์ซึ่งเป็นสารออกฤทธิ์ในฟ้าทะลายโจร ติดเชื้อสะสมรวม 37,656 คน ตายสะสม 47 ราย
สามารถยับยั้งเชื้อไวรัสซาร์สโควี-2 ซึ่งเป็นต้นเหตุ (อัตราตาย 0.1%) ซึ่งเมื่อเปรียบเทียบกับข้อมูลระดับ
ของโควิด-19 ในจานเพาะเลี้ยงได้ โดยผ่านกลไกการ ประเทศขณะนั้น มีจ�านวนผู้ป่วย 345,027 คน ตาย
ระงับเอ็นไซม์โปรตีเอสของไวรัส ต่อมาคณะผู้วิจัย สะสม 2,791 ราย (อัตราตาย 0.8%) แล้วพบว่าในเรือน
[1]
ที่มหาวิทยาลัยมหิดลได้ตีพิมพ์ผลการวิจัยในห้อง จ�ามีอัตราตายต�่ากว่าถึง 8 เท่า
ปฏิบัติการซึ่งยืนยันว่าฟ้าทะลายโจรในรูปสารสกัด ต่อมาได้มีการศึกษาวิจัยย้อนหลัง (retrospec-
หยาบที่มีแอนโดรกราโฟไลด์สามารถยับยั้งการเพิ่ม tive cohort study) ในโรงพยาบาล 9 แห่ง ที่รับผู้ป่วย
จ�านวนของไวรัสในเซลเยื่อบุปอดมนุษย์ได้ [2] โควิด-19 คลัสเตอร์ใหญ่ตลาดกุ้งมหาชัย ที่ได้
[4]