Page 159 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 20 ฉบับที่ 1
P. 159

J Thai Trad Alt Med                                   Vol. 20  No. 1  Jan-Apr  2022  139




              ในสารละลายตัวอย่างของกระชายซึ่งเป็นสารละลายสี  เป็น เนื่องจากบ่งชี้ถึงสารที่ออกฤทธิ์หรือกลุ่มของสาร
              เหลือง สีของปฏิกิริยาที่ปรากฏจึงเห็นเป็นสีส้ม) สาร   ออกฤทธิ์หรือสารที่ได้จากการสกัดด้วยตัวท�าละลาย
              พิโนสโตรบินที่พบในกระชายเป็นสารกลุ่มฟลาโวนอยด์   แล้วน�าไปใช้ประโยชน์ทางยาได้ การก�าหนดมาตรฐาน

              ที่มีโครงสร้างทางเคมีชนิดฟลาวาโนน จึงให้ผลบวก  ปริมาณเหล่านี้จึงต้องระบุว่า “ไม่น้อยกว่า’’
              กับปฏิกิริยา Shinoda’s test                     การหาปริมาณความชื้นในสมุนไพร มี 2 วิธี คือ

                   การตรวจเอกลักษณ์ทางเคมีด้วยวิธีรงคเลข  วิธี Azeotropic distillation ส�าหรับสมุนไพรที่มีสาร
              ผิวบาง ใช้พิโนสโตรบินเป็นสารเทียบ ซึ่งสารดังกล่าว  ระเหยได้อื่น ๆ นอกเหนือจากน�้า เช่น น�้ามันระเหย
              เป็นองค์ประกอบทางเคมีชนิดหลักชนิดหนึ่งที่พบใน  ง่าย และวิธี Gravimetric หรือ Loss on drying

              กระชาย และเลือกใช้น�้ายาเอ็นพี/พีอีจีซึ่งเป็นน�้ายา  ส�าหรับสมุนไพรที่มีน�้าเป็นองค์ประกอบชนิดเดียวที่
              เฉพาะส�าหรับการตรวจสอบสารกลุ่มฟลาโวนอยด์    ระเหยได้  ดังนั้น การหาปริมาณความชื้นในกระชาย
                                                                 [7]
              เอ็นพี/พีอีจีเป็นน�้ายาตรวจวัดที่เตรียมแยกกัน กลไก   จึงเลือกใช้วิธี Azeotropic distillation ตามหลักการ
              ของปฏิกิริยาคือ เมื่อพ่นน�้ายาเอ็นพีซึ่งเป็นสารละลาย   ที่กล่าวข้างต้น ตัวอย่างเครื่องยากระชายที่ได้จากร้าน
              ไดฟินิลบอริกแอซิดบีตาเอทิลอะมิโนเอสเทอร์ใน   ยาสมุนไพร จ�านวน 6 ตัวอย่าง มีค่าปริมาณความชื้น

              เมทานอล ความเข้มข้นร้อยละ 1 จะท�าปฏิกิริยากับสาร  อยู่ในช่วงร้อยละ 6.00-9.74 โดยปริมาตรต่อน�้าหนัก
              ฟลาโวนอยด์ จะเกิดการเรืองแสง เมื่อส่องดูภายใต้  ส่วนตัวอย่างที่ได้จากแหล่งธรรมชาติ จ�านวน 11
              แสงอัลตราไวโอเลตที่ความยาวคลื่น 366 นาโนเมตร   ตัวอย่าง มีค่าปริมาณความชื้นอยู่ในช่วงร้อยละ 6.49-

              และเพื่อพ่นน�้ายาพีอีจีซึ่งเป็นสารละลายโพลิเอทิลีน-   8.49 โดยปริมาตรต่อน�้าหนัก ค่าเฉลี่ยปริมาณความชื้น
              ไกลคอล 4000 ในเอทานอล ความเข้มข้นร้อยละ 5   ของตัวอย่างจากร้านยาสมุนไพรและแหล่งธรรมชาติ
              (พ่นทับ) จะเพิ่มความไวในการตรวจวัดหรือเพิ่มความ  มีค่าเท่ากับ ร้อยละ 8.28 และ 7.59 โดยปริมาตรต่อ

              เข้มของจุดสีของสาร                          น�้าหนัก ตามล�าดับ ซึ่งตัวอย่างจากร้านยามีแนวโน้ม
                   การประเมินคุณสมบัติทางเคมีฟิสิกส์ของ   ปริมาณความชื้นสูงกว่าตัวอย่างจากแหล่งธรรมชาติ

              กระชาย ปริมาณความชื้น ปริมาณเถ้ารวมและเถ้าที่  อันอาจเนื่องจากกระบวนการเก็บรักษา
              ไม่ละลายในกรด เป็นคุณลักษณะทางฟิสิกส์ที่ควร     การหาปริมาณสารสกัดด้วยตัวท�าละลายใน
              ควบคุม เนื่องจากความชื้นที่ปริมาณสูงเกินจะเป็น  สมุนไพร มี 2 แบบ คือ การสกัดโดยใช้ความร้อนด้วย

              ปัจจัยเอื้อต่อการเจริญเติบโตของจุลินทรีย์และอาจ  วิธีสกัดต่อเนื่อง ได้แก่ ปริมาณสารสกัดด้วยเฮกเซน
              เร่งการเสื่อมสลายของสารส�าคัญในสมุนไพร ส่วน  ปริมาณสารสกัดด้วยคลอโรฟอร์ม และการสกัดโดย

              ปริมาณเถ้าเป็นสิ่งชี้บ่งถึงการปนปลอมปนเปื้อน การ  ไม่ใช้ความร้อนด้วยวิธีการหมัก เช่น ปริมาณสารสกัด
              ก�าหนดมาตรฐานปริมาณเหล่านี้จึงต้องระบุว่า “ไม่  ด้วยแอลกอฮอล์ที่ความเข้มข้นต่าง ๆ ปริมาณสารสกัด
              เกิน’’ ส่วนปริมาณน�้ามันระเหยง่าย ปริมาณสารสกัด  ด้วยน�้า การเลือกใช้ตัวท�าละลายที่เหมาะสมในแต่ละ

              ด้วยเอทานอลความเข้มข้นร้อยละ 95 ปริมาณสาร   ชนิดขึ้นกับองค์ประกอบทางเคมีหรืออ้างอิงตามองค์
              สกัดด้วยเอทานอลความเข้มข้นร้อยละ 50 และสาร  ความรู้ดั้งเดิมในการใช้สมุนไพร การหาปริมาณสาร
              สกัดด้วยน�้า เป็นสิ่งบ่งชี้ถึงคุณลักษณะทางเคมีที่ควร  สกัดด้วยตัวท�าละลายในเครื่องยากระชายซึ่งได้จาก
   154   155   156   157   158   159   160   161   162   163   164