Page 99 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 20 ฉบับที่ 1
P. 99
J Thai Trad Alt Med Vol. 20 No. 1 Jan-Apr 2022 79
มารับบริการผู้ป่วยนอกทั้งหมด ส�าหรับข้อมูลผู้ป่วย ตรวจรักษา [4]
ใน ปีงบประมาณ 2560-2563 พบว่าได้รับการวินิจฉัย การพัฒนาการให้บริการด้านแพทย์แผนไทย
โรคด้านการแพทย์แผนไทยเพียงร้อยละ 0.6 และมี ให้เป็นไปตามเป้าประสงค์ของนโยบายที่เกี่ยวข้อง
สัดส่วนของการให้บริการแพทย์แผนไทยเพียงร้อยละ และเป็นไปตามองค์ความรู้ของแพทย์แผนไทย รวม
8 ของจ�านวนครั้งของการให้บริการผู้ป่วยในทั้งหมด [1] ทั้งเกิดการท�างานเป็นทีมระหว่างสหวิชาชีพในการให้
จากข้อมูลดังกล่าวสะท้อนถึงข้อจ�ากัดในด้านบทบาท บริการกับผู้ป่วยนั้น จ�าเป็นอย่างยิ่งที่ทีมสหวิชาชีพ
การท�างานของแพทย์แผนไทยตามองค์ความรู้ทาง ต้องมีความเข้าใจในขอบเขตและบทบาทหน้าที่ของ
แพทย์แผนไทยทั้งในด้านการตรวจวินิจฉัย บ�าบัด ผู้ประกอบวิชาชีพการแพทย์แผนไทย และแพทย์
รักษา หรือป้องกันโรค แผนไทยเองมีเข้าใจและมีองค์ความรู้เพียงพอในการ
จากการศึกษาที่ผ่านมาในด้านบทบาทการ ปฏิบัติตามบทบาทหน้าที่ของตนเอง การศึกษานี้จึง
ท�างานของแพทย์แผนไทยในโรงพยาบาลการแพทย์ มีวัตถุประสงค์ที่จะศึกษามุมมองของทีมสหวิชาชีพ
แผนไทยพบข้อจ�ากัดของแพทย์แผนไทยภายใต้ และผู้ประกอบวิชาชีพการแพทย์แผนไทยต่อบทบาท
ระบบการแพทย์แผนปัจจุบัน เนื่องจากอ�านาจในการ การท�างานของผู้ประกอบวิชาชีพการแพทย์แผนไทย
วินิจฉัยโรคเป็นของแพทย์แผนปัจจุบัน และการน�า เพื่อเป็นข้อมูลกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องส�าหรับการ
องค์ความรู้ของแพทย์แผนไทยมาใช้ในการวินิจฉัย พัฒนาวิชาชีพการแพทย์แผนไทยให้เกิดการยอมรับ
และรักษาโรคท�าได้อย่างจ�ากัด ท�าให้ไม่สามารถ และพัฒนาการให้บริการด้านการแพทย์แผนไทยต่อไป
รักษาโรคได้อย่างครอบคลุม มีเพียงการรักษาในโรค
เกี่ยวกับโครงสร้างกล้ามเนื้อ ส�าหรับการดูแลผู้ป่วย ระเบียบวิธีศึกษำ
ที่เข้าพักรักษาตัวในโรงพยาบาล แพทย์แผนไทยเป็น การศึกษานี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาใน
เพียงเข้าไปเสริมการรักษาเท่านั้น นอกจากนี้ยังมี รายวิชาโครงการพิเศษ ในหลักสูตรการแพทย์แผน
[2]
การศึกษาที่พบว่า ปัญหาส�าคัญของการพัฒนางาน ไทยบัณฑิต สาขาวิชาการแพทย์แผนไทย วิทยาลัย
แพทย์แผนไทยในโรงพยาบาลของรัฐ ได้แก่ ก�าลัง การสาธารณสุขสิรินธร จังหวัดพิษณุโลก เป็นการ
คนด้านการแพทย์แผนไทย ข้อจ�ากัดในด้านบทบาท ศึกษาเชิงพรรณนาแบบตัดขวาง (Cross-sectional
เนื่องจากการมีวิชาชีพอื่นที่มาดูแลงานแพทย์แผนไทย descriptive study) เพื่อศึกษามุมมองของทีมสห-
เช่น เภสัชกร บุคลากรสาธารณสุขแผนปัจจุบันอื่น ๆ วิชาชีพและผู้ประกอบวิชาชีพการแพทย์แผนไทยต่อ
ขาดความเข้าใจในบทบาทของวิชาชีพการแพทย์ บทบาทการท�างานของผู้ประกอบวิชาชีพการแพทย์
แผนไทย ส�าหรับแนวทางการบูรณาการในการท�างาน แผนไทย โดยศึกษาในช่วงเดือนมีนาคม พ.ศ. 2564
[3]
ร่วมกันของแพทย์แผนไทยกับแพทย์แผนปัจจุบัน ในโรงพยาบาลชุมชนทุกแห่งของจังหวัดพิษณุโลก
มีสองแนวทางหลัก ๆ คือ เป็นการท�างานร่วมกันไม่
ได้แยกสถานที่ต่างหาก โดยผู้รับบริการผ่านการคัด 1. วัสดุ
กรองจากพยาบาล และเป็นแบบท�างานร่วมกันแต่ 1.1 ประชากรและการสุ่มตัวอย่าง
แยกสถานที่ โดยมีแพทย์แผนไทยเป็นผู้คัดกรองและ การศึกษานี้ศึกษาในโรงพยาบาลชุมชนทุกแห่ง