Page 243 - วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ปีที่ 19 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2564
P. 243

J Thai Trad Alt Med                                   Vol. 19  No. 2  May-Aug  2021  473




            คอเลสเตอรอลและไตรกลีเซอไรด์และเพิ่มระดับ    หนูปกติหรือระหว่างกลุ่มหนูที่ได้รับอาหารไขมันสูง
            HDL [32]                                    ตลอดการศึกษา ระดับ AST และ ALT ที่มีแนวโน้ม

                 นอกจากนี้ภาวะไขมันในเลือดสูงที่เป็นผลมา  สูงขึ้นนี้เป็นผลมาจากอาหารไขมันสูงสอดคล้องกับ
            จากการสะสมไขมันมากเกินไปจนเกิดเป็นโรคอ้วนก็  การศึกษาที่ผ่านมา พบว่าอาหารไขมันสูงสามารถเพิ่ม
            เป็นปัญหาทางสุขภาพที่สำาคัญ Ruangaram และ   ระดับ AST และ ALT ซึ่งเป็นผลมาจากเซลล์ตับเกิด

                [33]
            Kato  รายงานว่าสารสกัดจากฝักส้มป่อยแสดงฤทธิ์  การบาดเจ็บหรือตาย [27-28]  ส่วนระดับ creatinine
            ลดความอ้วน โดยยับยั้งเอนไซม์ไลเปสที่ใช้ในการย่อย  เฉลี่ยมีค่าเพิ่มขึ้นในหนูทุกกลุ่ม รวมทั้งกลุ่มควบคุม
            ไขมัน เพิ่มการสลายไขมัน และลดการสะสมไขมัน   ทั้งสองกลุ่มตลอดการศึกษาแต่ไม่แตกต่างกันระหว่าง

            จากการศึกษาในสัตว์ทดลองพบว่าการให้บีตาแคโรทีน   กลุ่ม ค่า creatinine เพิ่มขึ้นตามอายุหนูที่เพิ่มขึ้น และ
                                                                                   [36]
            ในอาหารมีส่วนช่วยทำาให้หนูที่ได้รับอาหารที่มีคอเลส-  ค่าที่เพิ่มขึ้นนี้ยังอยู่ในช่วงค่าปกติ  แสดงให้เห็น
                                               [34]
            เตอรอสสูงมีระดับของคอเลสเตอรอลลดลง  ซึ่ง    ว่าการเปลี่ยนแปลงอย่างมีนัยสำาคัญของค่า ALP และ
            สอดคล้องกับการวิจัยที่มีการให้วิตามินเอในหนูอ้วน   BUN เมื่อเทียบกับหนูปกติเป็นผลจากการได้รับ
            (Ob strain) จะทำาให้หนูมีนำ้าหนักและการสะสมของ  อาหารที่มีคอเลสเตอรอลสูง ยามาตรฐานและสารสกัด

            ไขมันลดลง  จากการทบทวนวรรณกรรมจะเห็นได้     ส้มป่อยไม่มีผลเปลี่ยนแปลงค่าทางชีวเคมีที่เกี่ยวข้อง
                     [35]
            ว่าสารจำาพวกแคโรทินอยด์ เช่น วิตามินเอ โปรวิตามิน  กับการทำางานของตับและไตในหนูแรทที่เหนี่ยวนำาให้
            เอ (เบต้าแคโรทีน) เป็นสารที่มีศักยภาพในการป้องกัน  มีไขมันในเลือดสูง

            การเกิดโรคอ้วน ดังนั้น ใบส้มป่อยซึ่งเป็นแหล่งของ     ส่วนผลต่อการเจริญเติบโตและการกินอาหาร
            วิตามินเอ เบต้าแคโรทีน และแคโรทีนรวม อาจมี  พบว่า หนูแรทที่ได้รับอาหารที่มีไขมันสูงมีการเจริญ

            ศักยภาพในการป้องกันการเกิดโรคอ้วน หากมีการ  เติบโตและปริมาณการกินอาหารน้อยกว่าหนูแรทปกติ
            ศึกษาเพิ่มเติมถึงผลของสารสกัดจากใบส้มป่อยในหนู  ในขณะที่หนูแรทที่ได้รับอาหารที่มีไขมันสูงทั้ง 6 กลุ่ม
            ที่ถูกเหนี่ยวนำาให้เกิดภาวะอ้วนด้วยอาหารที่มีไขมัน  มีการเจริญเติบโตและปริมาณการกินอาหารไม่แตก

            สูง ใบส้มป่อยอาจเป็นทางเลือกหนึ่งในการควบคุมทั้ง  ต่างกัน และไม่พบความผิดปกติของอาการหรือ
            ภาวะอ้วนและไขมันในเลือดสูง ผลต่อการทำางานของ  พฤติกรรม แสดงให้เห็นว่าทั้งยามาตรฐานและสาร
            ตับและไตพบว่า หนูแรทที่เหนี่ยวนำาให้มีไขมันในเลือด  สกัดส้มป่อยไม่ส่งผลต่อการเจริญเติบโตและปริมาณ

            สูงโดยให้อาหารที่มีคอเลสเตอรอลสูงทุกกลุ่ม ทั้งกลุ่ม  การกินอาหารของหนูแรทที่ได้รับอาหารที่มีไขมันสูง
            ควบคุม กลุ่มที่ได้รับยามาตรฐานหรือสารสกัดส้มป่อย   รวมทั้งไม่มีผลต่อสุขภาพทั่วไป ดังนั้น สารสกัด
            มีค่าเฉลี่ย ALP สูงขึ้น และค่าเฉลี่ย BUN ตำ่าลงอย่าง  ส้มป่อยอาจไม่ส่งผลกระทบต่อการทำางานของตับและ

            มีนัยสำาคัญทางสถิติ (p < 0.05) เมื่อเทียบกับหนูแรท  ไต การเจริญเติบโตและปริมาณการกินอาหารในหนู
            ปกติ แต่ไม่แตกต่างกันระหว่างหนูกลุ่มที่ได้รับอาหาร  แรทที่เหนี่ยวนำาให้เป็นไขมันในเลือดสูงเช่นเดียวกัน

            ไขมันสูงทั้ง 6 กลุ่มตลอดการศึกษา ขณะที่ค่าเฉลี่ย   กับยามาตรฐาน ในการศึกษานี้ไม่ได้ใช้หนูที่มีระดับไข
            AST และ ALT มีแนวโน้มสูงกว่ากลุ่มหนูปกติเล็ก  มันในเลือดสูงตั้งแต่เริ่มต้น การให้ยาเพื่อป้องกันการ
            น้อย แต่ไม่แตกต่างอย่างมีนัยสำาคัญทางสถิติจากกลุ่ม  เพิ่มขึ้นของระดับไขมันในเลือดอาจต้องใช้เวลาศึกษา
   238   239   240   241   242   243   244   245   246   247   248