Page 230 - วารสารการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 19 ฉบับที่ 1
P. 230
212 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ปีที่ 19 ฉบับที่ 1 มกราคม-เมษายน 2564
ช่อย่อยแบบช่อเชิงหลั่น แต่ละช่อมี 3 ดอก ก้านช่อดอก คล้ายก้าน รูปทรงกระบอกค่อนข้างแบนหรือเป็นสัน
สั้นมากหรือยาวได้ถึง 1 เซนติเมตร ใบประดับและใบ สี่เหลี่ยม ตัน กว้างประมาณ 4 มิลลิเมตร ยาว 1-1.3
้
ประดับย่อยรูปสามเหลี่ยม ยาว 2-3 มิลลิเมตร ดอก เซนติเมตร หนาประมาณ 2 มิลลิเมตร มีต่อมนำามัน
สีขาวอมเขียว สีเหลืองอ่อน หรือสีเหลืองอมเขียว ก้าน กระจายอยู่ทั่วไป ส่วนบนมีกลีบเลี้ยง 4 กลีบ รูป
ดอกยาว 3-7 มิลลิเมตร ฐานดอกรูปทรงกระบอกแคบ สามเหลี่ยม ยาวประมาณ 3 มิลลิเมตร กางออก ถัด
ยาวประมาณ 1 เซนติเมตร เป็นสัน โคนค่อนข้างแคบ เข้าไปเป็นกลีบดอก 4 กลีบ บาง ซ้อนเหลื่อมและโค้ง
กลีบเลี้ยงสีเขียวและเปลี่ยนเป็นสีแดงเมื่อดอกบาน เข้าหากันหุ้มรอบเกสรเพศผู้ซึ่งมีจำานวนมากและเกสร
โคนเชื่อมติดกันเป็นหลอดยาว 5-7 มิลลิเมตร ปลาย เพศเมียไว้ทำาให้มีลักษณะเป็นก้อนกลม เส้นผ่าน
แยก 4 แฉก รูปไข่แคบ ยาว 3-4 มิลลิเมตร ปลาย ศูนย์กลางประมาณ 5 มิลลิเมตร สีจางกว่าส่วนโคน
แหลม ขอบเรียบ ใส กลีบดอกมี 4 กลีบ รูปขอบขนาน กลิ่นหอมเฉพาะ รสเผ็ดร้อน และชา [1-2, 6]
หรือกลม ยาว 7-8 มิลลิเมตร ขอบเรียบ ใส มีต่อม องค์ประกอบทางเคมี กานพลูมีองค์ประกอบ
้
้
นำามันมาก ร่วงง่าย เกสรเพศผู้มีจำานวนมาก ร่วงง่าย หลักเป็นนำามันระเหยง่าย (volatile oil) ร้อยละ
ก้านชูอับเรณูยาว 7.1-7.4 มิลลิเมตร อับเรณูรูปไข่หรือ 14-23 และกรดแกลโลแทนนิก (gallotannic acid)
้
รูปขอบขนานแกมรูปไข่ ยาวประมาณ 0.5 มิลลิเมตร ร้อยละ 10-13 นำามันกานพลูประกอบด้วยสารกลุ่ม
รังไข่กึ่งใต้วงกลีบ มี 2 ช่อง แต่ละช่องมีออวุลมาก ก้าน เทอร์พีนอยด์ (terpenoids) หลายชนิด ที่สำาคัญคือ
เกสรเพศเมียยาวประมาณ 4 มิลลิเมตร ผล แบบผล ยูจีนอล (eugenol) ซึ่งมีมากถึงร้อยละ 60-90 นอกจาก
มีเนื้อหนึ่งถึงหลายเมล็ด รูปขอบขนานแกมรูปไข่กลับ นั้น ยังมีแอลฟา-แคริโอฟิลลีน (a-caryophyllene),
กว้างประมาณ 1.5 เซนติเมตร ยาว 2-2.5 เซนติเมตร บีตา-แคริโอฟิลลีน (b-caryophyllene), อะเซทิลยูจีนอล
มักมีกลีบเลี้ยงติดทนที่ปลายผล แก่จัดสีแดง เมล็ด มี (acetyl eugenol), เมทิลเอมิลคีโทน (methyl amyl
1 เมล็ด รูปขอบขนาน ยาวประมาณ 1.5 เซนติเมตร มี ketone), ชาวิคอล (chavicol) เป็นต้น [1-5,11-12]
ร่องด้านเดียว [6,9-10] ข้อบ่งใช้
ถิ่นกำาเนิดและการกระจายพันธุ์ พืชชนิดนี้ ตำาราสรรพคุณยาไทยว่ากานพลูมีรสเผ็ดร้อน
เป็นพืชพื้นเมืองของหมู่เกาะโมลุกกะ (Molucca) ปร่า สรรพคุณกระจายเสมหะ แก้เสมหะเหนียว แก้
ประเทศอินโดนีเซีย นำาไปปลูกในเขตร้อนทั่วโลก ใน เลือดออกตามไรฟัน แก้หืด ทำาให้อาหารงวด แก้ปวด
ประเทศไทยนำามาปลูกบ้างแต่ไม่แพร่หลาย มีปลูก ฟัน แก้รำามะนาด [13-14] แก้ปวดท้อง แก้ลม แก้เหน็บชา
มากที่จังหวัดจันทบุรีและชุมพร ชอบขึ้นในที่ดินร่วน แก้พิษโลหิต พิษนำ้าเหลือง ขับนำ้าคาวปลา ทำาอุจจาระ
้
ซุย การระบายนำาดี ความชื้นสูง ฝนตกชุก ขึ้นได้ดี ให้ปกติ แก้ธาตุทั้ง 4 พิการ แก้ท้องเสีย กดลมให้ลงสู่
้
[14]
บนพื้นราบตั้งแต่ระดับนำาทะเลจนถึงประมาณ 900 เบื้องตำ่า นำ้ามันกานพลูใช้แก้ปวดฟัน [14-15]
เมตร [1-2,5,9-11] ข้อมูลจากการวิจัยพรีคลินิกพบว่าสารยูจีนอล
้
ลักษณะเครื่องยา กานพลูรูปคล้ายลูกโกร่ง ที่มีในนำามันกานพลูมีฤทธิ์ในการยับยั้งการเจริญของ
้
บดยา ยาว 1-2 เซนติเมตร สีนำาตาลแกมสีแดง หรือ เชื้อแบคทีเรียทั้งชนิดแกรมบวกและแกรมลบ และ
้
สีนำาตาลเข้ม ส่วนล่างเป็นฐานดอกรูปถ้วยลักษณะ เชื้อรา และยังมีฤทธิ์แก้ปวด และทำาให้ชา จึงมีการนำา