Page 184 - วารสารการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 19 ฉบับที่ 1
P. 184

166 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก       ปีที่ 19  ฉบับที่ 1  มกราคม-เมษายน 2564




           บริการ ทุกครั้ง เริ่มนวดรักษาข้างซ้ายก่อนข้างขวา  ว่า “หลังจากนวดแล้วเป็นอย่างไงบ้าง’’ จากนั้นให้
           เสมอ เนื่องจากเป็นข้างที่ใกล้หัวใจมากที่สุดโดยมีจุด  ผู้รับบริการลองเคลื่อนไหวร่างกายดูความผิดปกติ

           และระยะเวลา ในการนวดดังตารางที่ 1 ระยะเวลาใน  ของร่างกาย สัดส่วนที่มันผิดธรรมชาติ ผิดองศา มัน
           การรักษาแต่ละรายไม่เท่ากัน เพราะอาการของผู้มารับ  คือองศาปกติหรือไม่ และการนัดการรักษาในรายที่
           บริการแต่ละคนแตกต่างกันจึงใช้เวลาไม่เท่ากัน โดย  อาการดีขึ้นแต่ยังไม่หาย การติดตามอาจารย์มนัส

           บางจุดเมื่อกดลงไปแล้วพบภาวะแข็งเกร็งมากก็จะมี  รัตชะถาวร ได้ทำาการนัดผู้มาบริการหลังจากรักษา 2
           การนวดซำ้า 3-5 รอบ ขึ้นอยู่กับเวลานวดแล้วพบ แต่  วัน เพื่อติดตามผลการรักษา
           ระยะเวลาจะอยู่ที่ประมาณ 1-2 ชั่วโมง โดยจุดการนวด

           ดังต่อไปนี้                                 ผลของก�รนวดในก�รรักษ�โรคออฟฟิศซินโดรม
                6.  ข้อแนะนำาในการปฏิบัติตัวหลังการรักษา  ของอ�จ�รย์มนัส รัตชะถ�วร
                อาจารย์มนัส รัตชะถาวร มีการให้คำาแนะนำาใน     จากผู้ที่มารับบริการ ทั้งหมด 18 คนผลของการ

           การปฏิบัติตัวหลังการรักษาของผู้ที่มารับบริการจะ  นวดในการรักษาโรคออฟฟิศซินโดรมของอาจารย์
           ให้คำาแนะนำาในการประคบร้อน โดยใช้ผ้าขนหนู แบ่ง  มนัส รัตชะถาวร พบว่า ผู้มารับบริการส่วนใหญ่เป็น
                                         ้
           ออกเป็น 3 ส่วน ระยะแรกให้ใช้ผ้าจุ่มนำาร้อนเพียง 1   เพศหญิง จำานวน 12 คน คิดเป็นร้อยละ 66.67 และ
           ส่วนนำามาประคบพอผ้าเริ่มคลายความร้อนลงก็ใช้ผ้า  เป็นเพศชาย คิดเป็นร้อยละ 33.33 อายุ ผู้มารับบริการ
               ้
           จุ่มนำาร้อนเพียง 2 ส่วนแล้วประคบ พอผ้าเริ่มคลาย  ส่วนใหญ่อายุ 51 ปีหรือสูงกว่า จำานวน 18 คน คิดเป็น
                                ้
           ความร้อนลงอีกก็ใช้ผ้าจุ่มนำาร้อนทั้ง 3 ส่วน ซึ่งใช้เวลา  ร้อยละ 100.00 ศาสนา นับถือศาสนาพุทธ จำานวน
           ทั้งหมดประมาณ 10-15 นาที ทำาเช้า - เย็น แนะนำาการ  18 คน คิดเป็นร้อยละ 100.00 อาชีพ ผู้มารับบริการ

           รับประทานอาหาร นำาการงดอาหารแสลง ได้แก่ ข้าว  ส่วนใหญ่อาชีพเจ้าของกิจการ/อาชีพอิสระ จำานวน 9
           เหนียว หน่อไม้ เครื่องในสัตว์ เหล้า-เบียร์ และยาแก้  คน คิดเป็นร้อยละ 50.00 รองลงมาเป็นไม่ได้ทำางาน
           ปวด และแนะนำาการหลีกเลี่ยงสาเหตุของการเกิดโรค   จำานวน 6 คน คิดเป็นร้อยละ 33.33 และรับราชการ/

                7.  ข้อห้ามในการรักษา                  รัฐวิสาหกิจ จำานวน 3 คน คิดเป็นร้อยละ 16.67 ตาม
                อาจารย์มนัส รัตชะถาวร มีข้อห้ามในการรักษา  ลำาดับ โดยผู้มารับบริการส่วนใหญ่เคยรับการรักษาที่
           ผู้รับบริการ คือ มีไข้เกิน 38.5 องศาเซลเซียส กระดูก  โรงพยาบาล คลินิก ร้านนวดต่าง ๆ แต่อาการไม่ดีขึ้น

           แตก หัก ปริ ร้าว ที่ยังไม่ประสานกัน สภาวะที่มีอาการ  จึงมารักษากับอาจารย์มนัส รัตชะถาวร หลังจากการ
           อักเสบทั้งระบบของร่างกาย สภาวะความดันโลหิต  รักษากับอาจารย์มนัส รัตชะถาวร อาการดีขึ้น สามารถ
           สูงเกิน 140/90 มิลลิเมตรปรอท และสภาวะข้อต่อ   ทำางานได้นานขึ้น เคลื่อนไหวได้ดีขึ้น อาการปวด

           หลวม                                        ลดลง แต่ยังมีอาการอยู่บ้างเมื่ออยู่ในอิริยาบถเดิม
                8.  วิธีการประเมินผลการรักษา           นาน  ๆ และจะกลับเข้ามารับการรักษากับอาจารย์มนัส

                ประเมินได้จากการซักถามจากผู้ป่วยหลังได้รับ  รัตชะถาวรอีก รวมถึงจะทำาการแนะนำาให้ผู้อื่นมารักษา
           การรักษาและการติดตามผลการรักษา โดยอาจารย์   กับอาจารย์มนัส รัตชะถาวร อีกด้วย
           มนัส รัตชะถาวร ซักถามอาการของผู้มารับบริการ
                                                                     อภิปร�ยผล
   179   180   181   182   183   184   185   186   187   188   189