Page 207 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 18 ฉบับที่ 2
P. 207

J Thai Trad Alt Med                                   Vol. 18  No. 2  May-Aug  2020  429




            จัดขึ้นสำาหรับผู้ป่วยเพียงหนึ่งคน ณ ช่วงเวลาหนึ่งที่มา  ทั้งสิ้น 10 ขั้นตอน และมีคณะอนุกรรมการและคณะ
                                                                                              [23]
                 [20]
            รักษา  ผู้ให้บริการสามารถเลือกใช้องค์ความรู้ ความ  ทำางานสอดคล้องกับการดำาเนินงานในแต่ละขั้นตอน
            ถนัดและดุลยพินิจในการรักษาของผู้ให้การรักษา ดัง  ต้องสรุปความคุ้มค่าทางเศรษฐศาสตร์ ผลกระทบ
            นั้น จึงส่งผลให้การบริการด้านการแพทย์แผนไทยบาง  และความเป็นไปได้ (Health technology assess-
            กิจกรรมมีความหลากหลายในรูปแบบการให้บริการ   ment and feasibility) และการเข้าถึง เพื่อประกอบ

                 การทบทวนวรรณกรรมด้านการศึกษา           การพิจารณาตัดสินใจในเบื้องต้น ก่อนที่จะมีการ
            ประสิทธิผลการดำาเนินงานด้านการแพทย์แผนไทย   ประกาศประเภทและขอบเขตบริการสาธารณสุข และ
            ในกิจกรรมการนวดและประคบเต้านม [12-13]  การทับ  ปรับปรุงการบริหารจัดการเพื่อเพิ่มการเข้าถึงบริการ

            หม้อเกลือ [14-15]  และการพอกเข่า [14,16-18]  พบว่าผลการ  สาธารณสุขภายใต้ระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
            ศึกษาด้านประสิทธิผลที่สามารถนำามาใช้เพื่อยืนยัน  ในการจัดชุดบริการขั้นพื้นฐาน (Basic health ben-
            ประสิทธิผลของการบำาบัดป้องกันและรักษายังมี  efit package) ของหลายประเทศ ต่างมีหลักเกณฑ์

                                                                               [2]
            ข้อมูลที่ไม่เพียงพอ ทั้งจากรูปแบบของการศึกษา  ประกอบที่แตกต่างกันออกไป  โดยส่วนมากในการ
            เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง [13,15,17]  ประกอบกับจำานวนกลุ่ม   จัดชุดบริการขั้นพื้นฐานต้องมีการประเมินต้นทุน

            ตัวอย่างอยู่ระหว่าง 30 – 80 คน [13,15,17]  ที่ยังไม่สามารถนำา   และประสิทธิผล (Cost-effectiveness analysis)
            ประสิทธิผลของการศึกษามายืนยันว่ามีประสิทธิผล  การประเมินประสิทธิผล (Effectiveness) การ
                                                                                          [24]
            ในการรักษาในกรณีที่ให้กับผู้ป่วยในกลุ่มเดียวกัน     ประเมินผลกระทบทางการเงิน (Budget impact)
                                                  [21]
            และจำาเป็นต้องมีการจัดบริการ และจากข้อมูล   การประเมินภาระโรค (Burden of disease) ความ
            ประสิทธิผลดังกล่าว ก็ยังไม่เพียงพอในการประเมิน  เป็นธรรม (Equity) และความจำาเป็น (Necessity)

            ทางด้านเศรษฐศาสตร์ ซึ่งในการประเมินต้นทุนและ  อย่างไรก็ตามในแต่ละประเทศก็ยังคงคำานึงถึงบริบท
            ประสิทธิผลนั้นต้องมีประสิทธิผลข้อแตกต่างจาก  ของประเทศ เช่น สภาพสังคม วัฒนธรรม และพื้นฐาน
            ทั้งกลุ่มที่ได้รับปัจจัยแทรกแซงและกลุ่มที่ไม่ได้รับ  ทางเศรษฐกิจ ควบคู่กับทรัพยากรด้านสุขภาพ  ร่วม
                                                                                          [25]
            ปัจจัยแทรกแซง โดยจะต้องมีการระบุประชากรกลุ่ม  ด้วย และควรมีการพิจารณาถึงการบริการแบบเหมา
            เป้าหมายที่ชัดเจนทั้งในระดับบุคคลและข้อมูลทาง  รวม (Inclusive) หรือการบริการที่เป็นแบบเฉพาะ
            ด้านการแพทย์ [22]                           (Exclusive) [26,27]  เพื่อให้เกิดการเข้าถึงบริการอย่าง

                                                        เท่าเทียมกัน
            3. ข้อเสนอแนะก�รพัฒน�ชุดสิทธิประโยชน์            ทั้งนี้เพื่อให้บริการการแพทย์แผนไทยมีความ

                 การพัฒนาชุดสิทธิประโยชน์บริการด้านการ  ครอบคลุมและได้รับสิทธิประโยชน์บริการด้านการ

            แพทย์แผนไทย งานส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค   แพทย์แผนไทยในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
                                                  [5-6]
            เพื่อให้เกิดการเข้าถึงบริการที่เท่าเทียมกันนั้น    ควรมีข้อเสนอแนะเชิงนโยบายภายใต้การดำาเนินการ
            ควรมีการเสนอให้เป็นไปตามกระบวนการพัฒนาชุด   ดังนี้
            สิทธิประโยชน์ในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ        1.  จัดทำารายการหรือกิจกรรมบริการด้าน
            ที่มีกระบวนการและขั้นตอนการดำาเนินงานที่ชัดเจน   การแพทย์แผนไทยที่ผู้มีสิทธิจะได้รับบริการ โดยให้
   202   203   204   205   206   207   208   209   210   211   212