Page 175 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 18 ฉบับที่ 2
P. 175
J Thai Trad Alt Med Vol. 18 No. 2 May-Aug 2020 397
Factor: VEGF) ในเซลล์มะเร็งตับ วัดผลลัพธ์โดย ปี พ.ศ. 2555 เป็น 159.95, 185.70, 108.38 และ
การตรวจสอบหลอดเลือดฝอยในเซลล์มะเร็งที่ไม่ได้ 139.34 ต่อประชากรแสนคน โดยเฉพาะจ�านวนผู้ป่วย
[8-25]
รักษา อาหารเสริมมีส่วนส�าคัญที่จะช่วยลดการเกิด มะเร็งระบบทางเดินอาหารปี พ.ศ. 2552, 2553, 2554
โรค เช่น น�้ามันปลาที่มีส่วนประกอบคือ โอเมก้า-3 ซึ่ง และปี พ.ศ. 2555 มีจ�านวน 61, 71, 42 และ 54 ราย
เป็นกรดไขมันไม่อิ่มตัว ซึ่งจะพบในปลาบางชนิด ตามล�าดับ และพบผู้ป่วยใหม่ต่อเนื่อง 2 รายต่อเดือน
เท่านั้น เช่น ปลาแมคเคอร์เรล ปลาแอนโชวี่ ปลาทูน่า จากประสบการณ์การดูแลผู้ป่วยมะเร็งพบว่าผู้ป่วย
ปลาแซลมอน เป็นต้น หรืออาจจะพบในผักหรือพืชบาง มะเร็งไม่ได้รับการรักษาครบตามแผนการรักษา
ชนิด และที่ส�าคัญคือร่างกายของคนสร้างขึ้นมาเองไม่ เนื่องจากภาวะแทรกซ้อนและสุขภาพที่เปลี่ยนแปลง
ได้ ต้องได้รับจากอาหารเท่านั้น ภาวะโภชนาการ จากพยาธิสภาพของโรค การศึกษานี้จึงได้ศึกษาภาวะ
ทางการแพทย์ การท�างานของกรดไขมันส�าหรับผู้ป่วย โภชนาการผู้ป่วยมะเร็งระบบทางเดินอาหาร การศึกษา
มะเร็งคือเข้ามาลดกระบวนการอักเสบในร่างกายรวม เชิงพรรณนาจากแบบบันทึกทางการแพทย์ ระยะเวลา
ถึงการควบคุมเนื้องอกของผู้ป่วยมะเร็งด้วย ไขมันใน ด�าเนินการตุลาคม-เมษายน 2556 กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้
กลุ่มโอเมก้า-3 ประกอบด้วย กรดไอโคซาเพนทาโน ป่วยที่ได้รับวินิจฉัยว่าป่วยเป็นมะเร็งระบบทางเดิน
อิก [eicosapentanoic acid (EPA)] และกรดโดโค อาหาร อายุ 18 ปีขึ้นไป เก็บข้อมูลแผนกผู้ป่วยนอก
ซาเฮกเอ็นโนอิก [docosahexaenoic acid (DHA)] โรงพยาบาลโนนคูณ จังหวัดศรีสะเกษ เครื่องมือที่ใช้
รายงานหลักฐานการวิจัยการได้รับกรดไอโคซาเพนทา คือแบบบันทึกข้อมูลทั่วไปและแบบประเมินภาวะ
โนอิกจะสามารถกู้กลับผอมหนังหุ้มกระดูก รักษาน�้า โภชนาการพบว่า ผู้ป่วยมะเร็ง 30 ราย ผู้ป่วยมะเร็ง
หนักเพิ่มมวลร่างกาย ลดการสร้างสารอักเสบ Lipid ระบบทางเดินอาหารไม่เปิดเผยการเจ็บป่วยและไม่ได้
Mobilizing Factor: LMF และ Proteolysis Induc- รับการรักษาจากแพทย์แผนปัจจุบันร้อยละ 20 ได้รับ
ing Factor: PIF ป้องกันการเกิด (Tumor Necrotic การรักษาผ่าตัดร้อยละ 60 ภาวะโภชนาการระดับดี
Factor: TNF-α) ต้านทานกระบวนการสร้างเซลล์ของ (well nourished) ร้อยละ 20 ระดับปานกลาง (mo-
เนื้องอก เพิ่มการควบคุมการตายของเซลล์ เซลล์เม็ด derate malnourished) ร้อยละ 80 ไม่พบภาวะพร่อง
เลือดขาวแบ่งตัวมากขึ้น ผู้ป่วยมะเร็งยังคงสามารถ โภชนาการรุนแรง จากการศึกษาแสดงให้เห็นว่าผู้ป่วย
ปฏิบัติกิจวัตรประจ�าวันได้ระดับเดิม ลดอัตราการ มะเร็งมีปัญหาทุพโภชนาการและต้องการการดูแล
สลายโปรตีนในตับและสามารถลดอัตราการใช้ โดยการประยุกต์องค์ความรู้ทางโภชนาการขั้นสูง
พลังงานขณะพักได้ [6,12,16,18,25-28] เพื่อคุณภาพชีวิตในผู้ป่วยมะเร็ง และผู้ศึกษามีบทบาท
อ�าเภอโนนคูณพบอัตราการเสียชีวิตจากโรค การพัฒนาการดูแลภาวะสุขภาพประชากรกลุ่มป่วย
มะเร็งตับเป็นล�าดับที่หนึ่ง พบอัตราป่วยเป็นโรคมะเร็ง จึงได้ท�าการวิจัยขึ้น โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา
ทั้งหมด ปี พ.ศ. 2552, 2553, 2554 และ ปี พ.ศ. 2555 เปรียบเทียบผลการรับประทานสารสกัดขมิ้นชันกับ
เป็น 329.26, 337.41, 279.87 และ 374.17 ต่อแสน น�้ามันปลาต่อภาวะโภชนาการและคุณภาพชีวิตผู้ป่วย
ประชากร ตามล�าดับ และพบอัตราป่วยมะเร็งของ มะเร็ง
ระบบทางเดินอาหารปี พ.ศ. 2552, 2553, 2554 และ