Page 171 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 17 ฉบับที่ 3
P. 171
J Thai Trad Alt Med Vol. 17 No. 3 Sep-Dec 2019 521
ตารางที่ 2 มูลค่าและปริมาณการสั่งใช้ยาจากสมุนไพรที่ใช้บ่อย 5 อันดับแรก ตั้งแต่ ปี พ.ศ. 2557-2560
รายการ 1 ต.ค. 2556 1 ต.ค. 2557 1 ต.ค. 2558 ต.ค. 2559 ร้อยละ
-30 ก.ย. 2557 -30ก.ย. 2558 -30 ก.ย. 2559 -30 ก.ย. 2560 ที่เพิ่มขึ้น
มูลค่ารวม (บาท) 443,589,779.92 355,594,721.25 434,552,723.24 579,792,684.53 30.70
ปริมาณสั่งใช้ยา (บาท) 4,714,665.55 5,346,579.53 5,123,664.25 7,447,794.47 57.97
1. ฟ้าทะลายโจร 824,965.05 721,256.20 522,434.45 1,420,005.71 72.12
2. ขมิ้นชัน 628,529.10 661,903.89 542,445.23 1,079,550.14 71.75
3. ยาแก้ไอมะขามป้อม 556,734.14 789,723.43 623,452.89 1,026,290.04 84.34
4. ยาอมมะแว้ง 542,253.55 430,150.14 625,434.47 876,529.10 61.64
5. เถาวัลย์เปรียง 225,563.55 256,723.75 193,235.89 351,596 55.87
*** ร้อยละที่เพิ่มขึ้น ณ วันที่ 30 กันยายน 2560 เมื่อเทียบกับ 30 กันยายน 2557
ที่มา: ฐานข้อมูล Health Data Center จังหวัดสระบุรี ณ วันที่ 25 ตุลาคม 2560
ตารางที่ 3 ร้อยละของการสั่งใช้ยาปฏิชีวนะไม่สมเหตุสมผล ใน 2 โรคเป้าหมาย
เป้าหมาย (น้อยกว่าร้อยละ 20) ปี 2559 ปี 2560 ปี 2561
โรคติดเชื้อทางเดินหายใจส่วนบนเฉียบพลัน 28.59 26.94 19.79
โรคท้องร่วงเฉียบพลัน 18.90 17.80 13.94
ที่มา : ฐานข้อมูล Health Data Center จังหวัดสระบุรี ณ วันที่ 25 ตุลาคม 2560
ก�รใช้ย�ปฏิชีวนะไม่สมเหตุสมผลใน 2 โรค of diseases and related health problems, 10th
เป้�หม�ย revision, Thai modification) หรือบัญชีจำาแนกโรค
อัตราการสั่งใช้ยาปฏิชีวนะไม่สมเหตุสมผลใน 2 ระหว่างประเทศฉบับประเทศไทยแก้ไขครั้งที่ 10 ได้
โรคเป้าหมายลดลง โดยพบ การสั่งใช้ยาปฏิชีวนะอย่าง กำาหนดรหัสการวินิจฉัยโรคตามการแพทย์แผนไทย
[7]
ไม่สมเหตุสมผลในโรคติดเชื้อทางเดินหายใจส่วนบน ข้อมูลจากศูนย์ พบว่ามีการรายงานโรคทางการแพทย์
เฉียบพลัน ในปีพ.ศ. 2559, 2560 และ 2561 ดังนี้ แผนไทยส่วนใหญ่จัดอยู่ในกลุ่มอาการปวดกล้าม
ร้อยละ 28.59, 26.94 และ 19.79 ตามลำาดับ ส่วนการ เนื้อกระดูกและข้อโดยอันดับ 1 คือปวดขาหรือปวด
สั่งใช้ยาปฏิชีวนะอย่างไม่สมเหตุสมผลในกลุ่มโรค เข่าหรือปวดเท้าพบรายงาน 11,624 ครั้ง (ร้อยละ
ท้องร่วงเฉียบพลัน ในปี 2559, 2560 และ 2561 ดังนี้ 17.44 ของรายงานทั้งหมด) อันดับ 2 คืออาการปวด
ร้อยละ 18.90, 17.80 และ 13.94 ตามลำาดับ หลังปวดบ่าหรือปวดไหล่พบว่ามีรายงาน 6,523 ครั้ง
(ร้อยละ 10.07 ของรายงานทั้งหมด) และอันดับ 3 คือ
ก�รวินิจฉัยโรคต�มก�รแพทย์แผนไทย อาการไอ พบว่ามีรายงาน 4,288 ครั้ง (ร้อยละ 6.05
ICD 10 TM (international classification ของรายงานทั้งหมด)