Page 169 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 17 ฉบับที่ 3
P. 169
J Thai Trad Alt Med Vol. 17 No. 3 Sep-Dec 2019 519
วิธีก�รศึกษ� การใช้ยาสมุนไพร (10 ข้อ) ตอนที่ 2 เป็นคำาถามด้าน
การรวบรวมข้อมูลในระบบศูนย์ข้อมูล ปัญหา-อุปสรรคที่ส่งผลต่อการสั่งใช้ยาสมุนไพร (10
การแพทย์และสุขภาพระดับจังหวัด (Health Data ข้อ) คำาถามเป็นแบบ Likert ที่มี 5 ระดับจากไม่เห็น
Center) ซึ่งประกอบด้วยแฟ้มข้อมูล 43 แฟ้ม ด้วยเป็นอย่างยิ่ง (1 คะแนน) จนถึงเห็นด้วยเป็นอย่าง
มาตรฐานซึ่งกำาหนดโดยศูนย์มาตรฐานรหัสและข้อมูล ยิ่ง (5 คะแนน)
สุขภาพแห่งชาติ สถานพยาบาลทุกระดับในจังหวัด การเก็บข้อมูลแบบสอบถามของผู้เกี่ยวข้องกับ
สระบุรีคือโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำาบลทุกแห่ง สั่งการรักษาและสั่งใช้ยาในเรื่องปัจจัยที่ส่งเสริมและ
โรงพยาบาลชุมชนทุกแห่งและโรงพยาบาลศูนย์ โรง- สนับสนุนให้มีการใช้ยาสมุนไพรและปัญหาอุปสรรค
พยาบาลทั่วไป ประมวลผลข้อมูลของตนและส่งออก ที่ส่งผลต่อการสั่งใช้ยาสมุนไพร โดยเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติ
จากระบบ HOSxP ไปสู่ศูนย์ข้อมูล ข้อมูลที่รวบรวม งานแพทย์แผนไทยของสำานักงานสาธารณสุข จังหวัด
และวิเคราะห์ในการศึกษานี้ได้แก่ มูลค่าและปริมาณ สระบุรี 3 คน ที่ผ่านการทำาความเข้าใจวัตถุประสงค์
การสั่งใช้ยาสมุนไพร ข้อมูลการวินิจฉัยโรครายงาน คำาถามที่ใช้ และวิธีการรวบรวมข้อมูล การเก็บข้อมูล
โรคตามระบบ ICD 10-TM และข้อมูลการสั่งการ ทำาใน 2 ลักษณะดังนี้ 1) แจกแบบสอบถามแก่ตัวอย่าง
รักษาและสั่งใช้ยาในงานบริการแพทย์แผนไทยและ ที่เข้าร่วมประชุม ผู้ประกอบวิชาชีพการแพทย์แผนไทย
การแพทย์ทางเลือก ด้านเวชกรรมไทย ซึ่งสำานักงานสาธารณสุข จังหวัด
เครื่องมือเก็บรวบรวมข้อมูล โดยการสร้าง สระบุรีจัดขึ้น 2) แจกแบบสอบถามแก่ตัวอย่างใน
แบบสอบถามชนิดตอบด้วยตนเองโดยรวบรวม ระหว่างการตรวจนิเทศและติดตามการดำาเนินงานตาม
ประเด็นที่เกี่ยวข้องกับปัจจัยที่ส่งเสริม-อุปสรรค ตัวชี้วัด
ต่อการใช้ยาสมุนไพรจากการพูดคุยกับเจ้าหน้าที่ผู้ การวิเคราะห์หาสาเหตุและแนวทางการส่งเสริม
ปฏิบัติงานด้านการแพทย์แผนไทยทั้งจากโรงพยาบาล การสั่งใช้ยาสมุนไพร การวิจัยนี้ศึกษาเอกสาร คู่มือ
ศูนย์ โรงพยาบาลทั่วไป โรงพยาบาลชุมชนและโรง- นโยบายการพัฒนาระบบยาสมุนไพร หลังจากนั้นนำา
พยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำาบล หลังจากนั้นกำาหนด ข้อมูลที่ได้จากการวิเคราะห์เพื่อเสนอผู้เชี่ยวชาญด้าน
หัวข้อคำาถามและจัดทำาเป็นคำาถามผู้เชี่ยวชาญ 5 คน ระบบยาสมุนไพร 3 คน ใน กรมการแพทย์แผนไทย
ที่มีประสบการณ์การทำางานด้านการแพทย์แผนไทย และการแพทย์ทางเลือก โรงพยาบาลเจ้าพระยาอภัย
อย่างน้อย 5 ปี ตรวจสอบความตรงของเนื้อหาและ ภูเบศร เพื่อให้ร่วมกันพิจารณาหาแนวทางการส่ง
ตรวจสอบการใช้ภาษาของแบบสอบถาม ผู้เชี่ยวชาญ เสริมการสั่งใช้ยาจากสมุนไพร ผู้เชี่ยวชาญ 3 คน มี
ประกอบด้วยหัวหน้างานแพทย์แผนไทยของโรง- ความชำานาญในการควบคุมด้านระบบยาสมุนไพรเป็น
พยาบาล (1 คน) ผู้รับผิดชอบงานแพทย์แผนไทย อย่างดี โดยมีประสบการณ์ในเรื่องดังกล่าวมากกว่า
ของโรงพยาบาล (3 คน) และเภสัชกรผู้รับผิดชอบ สิบปี โดยดำาเนินการอภิปรายกลุ่ม มีผู้จดบันทึกการ
งานแพทย์แผนไทยในโรงพยาบาลชุมชน (1 คน) อภิปราย 1 คน ประเด็นการอภิปราย ประกอบด้วย
หลังการปรับปรุงได้แบบสอบถาม 2 ตอน ตอนแรก มูลค่าการสั่งใช้ยาจากสมุนไพร ปัญหาอุปสรรคที่ส่ง
เป็นคำาถามเกี่ยวกับปัจจัยส่งเสริมและสนับสนุนให้มี ผลต่อการใช้ยาจากสมุนไพร รวมทั้งแนวทางการส่ง