Page 221 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 17 ฉบับที่ 2
P. 221

J Thai Trad Alt Med                                   Vol. 17  No. 2  May-Aug 2019  359




              ลมชัก โรคมัลติเพิล สเคอโรสิส และโรคทางประสาท  bidiol, CBD) ในสัดส่วนที่แตกต่างกัน ซึ่งสาร 2 ชนิด
              วิทยาอื่น ๆ การศึกษาความปลอดภัยและความ      นี้มีความแตกต่างกันในการออกฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา
              สามารถทนต่อยาได้ของผู้ป่วย ซึ่งข้อมูลเหล่านี้เป็น   ตัวรับ (receptor) และผลทางสรีรวิทยา โดยเฉพาะ

              พื้นฐานสำาคัญที่จะนำามาใช้ประกอบในการพิจารณา  สารเททราไฮโดรแคนนาบินอยด์จะมีฤทธิ์ต่อจิตและ
              การใช้และการควบคุมการใช้พืชกัญชา ยาจากพืช   ประสาท แต่สารแคนนาบิไดออลจะไม่มีฤทธิ์นี้ ดังนั้น

              กัญชา และสารสกัดที่ได้จากพืชกัญชาที่จะนำามาใช้  ผู้วิจัยจึงสนใจที่จะศึกษาประโยชน์ที่เกิดจากสาร
              รักษาโรคทางประสาทวิทยาต่อไป                 2 ชนิดนี้ในการรักษาอาการของโรคต่าง ๆ ว่าเหมือน
                                                          หรือแตกต่างกันอย่างไร เพื่อหาสัดส่วนที่เหมาะสม
              * Friedman D, French JA, Maccarrone M. Safety,
              efficacy, and mechanisms of action of canna-  ของสาร 2 ชนิดนี้ในผลิตภัณฑ์กัญชาทางการแพทย์
              binoids in neurological disorders. The Lancet   ที่จะนำามาใช้ในการรักษาอาการต่าง ๆ โดยการทำาการ
              Neurology. 2019;18:504–12.                  ศึกษาแบบย้อนหลัง (retrospective cohort study)

                                                          ในผู้ป่วยที่มีการใช้ผลิตภัณฑ์กัญชาทางการแพทย์ (ที่
                เปรียบเทียบประโยชน์ของสารเททราไฮโดรแคน
                นาบินอยด์กับสารแคนนาบิไดออล ในการใช้      ทราบสัดส่วนของสาร 2 ชนิด) ในอาการต่าง ๆ ดังนี้

                สำาหรับบรรเทาอาการในผู้ป่วยระยะท้ายของชีวิต   อาการปวดเหตุพยาธิสภาพประสาท (neuropathic
                (palliative care symptoms)*               pain) อาการไม่อยากอาหาร (anorexia) การเห็นภาพ
                                                          ย้อนหลังในโรคเครียดภายหลังเหตุการณ์สะเทือน
              David J. Casarett , Jessica N. Beliveau ,
                             *
                                                *
              Michelle S. Arbus †                         ขวัญ (post-traumatic stress disorder-related
              * Department of Medicine at Duke University,   flashbacks) อาการนอนไม่หลับ (insomnia) อาการ
              Durham, North Carolina, USA                 วิตกกังวล (anxiety) อาการซึมเศร้า (depression)
              † Research Department, Strainprint Technolo-
              gies Ltd., Toronto, Ontario, Canada         ผลการศึกษาพบว่า ผู้ป่วยมีอาการที่ดีขึ้นทุกอาการข้าง
              Journal of Palliative Medicine. 2019 Aug 6; doi:   ต้นภายหลังการใช้ โดยสัดส่วนที่เพิ่มขึ้นของสัดส่วน

              10.1089/jpm.2018.0658                       THC : CBD จะมีความสัมพันธ์กับอาการปวดเหตุ
                                                          พยาธิสภาพประสาท (neuropathic pain) และอาการ
                   จากการที่มีการนำาสารสกัดจากกัญชามาใช้ใน   นอนไม่หลับ (insomnia) มีความสัมพันธ์เล็กน้อย

              ผู้ป่วยเพื่อบรรเทาอาการต่าง ๆ ในผู้ป่วยระยะสุดท้าย   ต่ออาการซึมเศร้า แต่ไม่มีความสัมพันธ์กับ อาการ
              (palliative care symptoms) และมีหลักฐานเพิ่ม  ไม่อยากอาหาร (anorexia) การเห็นภาพย้อนหลังใน
              มากขึ้นเรื่อย ๆ ว่าสารสกัดจากกัญชาอาจมีประโยชน์  โรคเครียด ภายหลังเหตุการณ์สะเทือนขวัญ (post-

              ในหลายอาการ ได้แก่ อาการปวด อาเจียน ไม่อยาก  traumatic stress disorder-related flashbacks)
              อาหาร ภาวะกล้ามเนื้อหดเกร็ง เป็นต้น อย่างไรก็ตาม  และอาการวิตกกังวล (anxiety) ซึ่งข้อมูลที่ได้นี้จะเป็น
              ในสารสกัดกัญชาที่นำามาใช้มักจะมีสารสำาคัญ 2 ชนิด   ข้อมูลพื้นฐานที่จะนำามาใช้ในการออกแบบ ที่จะทำาการ

              คือ สารเททราไฮโดรแคนนาบินอยด์ (tetrahydro-  ศึกษาแบบสุ่มควบคุม (randomized controlled
              cannabinol, THC) กับสารแคนนาบิไดออล (canna-  trials) ต่อไปในอนาคต
   216   217   218   219   220   221   222   223   224   225   226