Page 54 - ภาพนิ่ง 1
P. 54

48   วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก         ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 มกราคม-เมษายน 2555





          ตารางที่ 3 คุณภาพชีวิตก่อนและหลังการทดลองผู้ป่วยเบาหวานที่ได้รับการส่งเสริมสุขภาพด้วยแพทย์
          แผนไทย (กลุ่มทดลอง)


                                           กลุ่มทดลอง            กลุ่มควบคุม
             คุณภาพชีวิตด้านต่างๆ
                                                                -
                                          -         SD          x          SD       P-value
                                          x
          1. ด้านร่างกาย               23.10       3.71       23.56       3.79       0.112

          2. ด้านจิตใจ                 20.60       3.26       21.34       3.80       0.002
          3. ด้านความสัมพันธ์ทางสังคม   9.58       0.41       10.00       0.44       0.007

          4. ด้านสิ่งแวดล้อม           27.15       0.42       28.08       0.43       0.003

              คุณภาพชีวิตโดยรวม        87.15       0.49       89.71       0.42       0.003


                     วิจารณ์และสรุป                  ส่วนใหญ่เป็นผู้สูงอายุมีแนวโน้มการปฏิบัติธรรม

               จากการศึกษาพบว่าคุณภาพชีวิตหลังการ    เป็นประจำอยู่แล้ว ดังนั้นเมื่อมีการรวมกลุ่มสวด
          ให้การส่งเสริมสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทย ทั้ง  คาถาชินบัญชรที่เป็นที่รู้จักและศรัทธาเป็นอย่างดี

          สองกลุ่มยังคงมีระดับคุณภาพชีวิตโดยรวมอยู่ใน  มีการเดินจงกรมร่วมกัน  และปฏิบัติอย่าง
          ระดับปานกลางเหมือนเดิมทำให้ไม่สามารถสรุป   สม่ำเสมอ จึงส่งผลทำให้จิตใจเกิดสมาธิ มีความ

          ได้ว่าโปรแกรมการส่งเสริมสุขภาพด้วยการแพทย์  สงบมากขึ้น คุณภาพชีวิตดีขึ้น รวมถึงด้านสังคม
          แผนไทยชุดหลักธรรมานามัยเป็นเครื่องมือที่มีผล  และสิ่งแวดล้อม  ที่กลุ่มทดลองมากกว่ากลุ่ม
          ต่อการเพิ่มขึ้นของคุณภาพชีวิตผู้ป่วยเบาหวานได้  ควบคุม ทั้งนี้อาจเนื่องจากในกระบวนการจัด

          อย่างชัดเจนทั้งนี้อาจเนื่องจาก การไม่สามารถ  กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทย
          ควบคุมปัจจัยด้านอื่น ๆ ได้ทั้งหมด เช่น การรับ  ในคลินิกเบาหวานเป็นการจัดกระบวนการกลุ่ม

          ประทานอาหารของผู้ป่วย ความถี่และระยะเวลา   ของผู้ป่วยที่มี อายุ การศึกษาและลักษณะโรคที่คล้าย
          ในการออกกำลังกาย หรือการพักผ่อนตามระยะ     กัน ดังนั้นเมื่อได้มารวมกลุ่ม มีการพูดคุย ปรึกษา
          เวลาที่เหมาะสม แต่เมื่อพิจารณารายด้านพบว่า  หารือด้วยความเอื้ออาทรซึ่งกันและกัน จึงทำให้มี

          กลุ่มทดลองมีคุณภาพชีวิตด้านจิตใจเพิ่มเป็น  ความรู้สึกที่ดีมากขึ้น  แตกต่างจากคุณภาพชีวิต
          ระดับดี ส่วนกลุ่มควบคุมอยู่ในระดับปานกลาง  ด้านร่างกายพบว่าก่อนและหลังทดลอง ไม่แตก

          เช่นเดิม ทั้งนี้อาจเนื่องจากในโปรแกรมการส่ง  ต่างกัน สอดคล้องกับผลการศึกษาที่พบว่าผู้ป่วย
          เสริมสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยชุดหลัก       ส่วนใหญ่มีการปฏิบัติตนในการควบคุมน้ำตาล
          ธรรมานามัย มีกิจกรรมหลักได้แก่ การนั่งสมาธิ   โดยการรับประทานยาตามแพทย์สั่งร่วมกับการ

          การสวดมนต์ การเดินจงกรม ผู้ป่วยเบาหวานซี่ง  ออกกำลังกาย เพียงร้อยละ 7.99  ซึ่งแสดงให้
   49   50   51   52   53   54   55   56   57   58   59